จูลิกา, - ฬิกา : อิต. จอนผม, ผมจุก, ผมขอด, หมวกหูช้าง
จุจฺจุ, จุจฺจู, (จจู) : อิต. มัน, เผือก, หัวผักกาดแดง
ปจฺจูสกาล : ป. รุ่งสว่าง, เช้ามืด
พลวปจฺจูสมย : (ปุ.) สมัยอันกำจัดเฉพาะซึ่งมืดมีกำลัง, สมัยอันกำจัดเสียซึ่งมืดมีกำลัง, เวลาย่ำรุ่ง.
กมฺมภว : (ปุ.) กรรมภพ ที่เกิดของกรรมทั้ง ฝ่ายกุศลและอกุศลที่เกิดของสัตว์ผู้มีกรรม ทั้งที่เป็นอกุศลจิต และโลกิยกุศลจิต. ปุญฺ ญา ภิสงฺขาโร อปุญญาภิสงฺขาโร อเนญชา ภิสงฺขาโร อยํ กมฺมภโว. ขุ. จู ไตร. ๓๐/๒๘๕.
จุจุก : (นปุ.) หัวนม. จุ จวเน, อุโก, ทฺวิตฺตํ. จญฺจุ คติยํ วา, อุโก, ญฺโลโป, อสฺสุ. อภิฯ และ ฎีกาอภิฯ เป็น จูจุก โดยทีฆะต้นธาตุเมื่อ แปลงเป็นจุจุ แล้ว.
จุจิ : (นปุ.) ทรวง, ทรวงอก, หน้าอก. จิกฺ อามสเน, อิ. แปลง อิ ที่ จิ เป็น อุ แปลง กฺ เป็น จฺ.
จุติจิตฺต : (นปุ.) จิตอันเคลื่อนจากภพที่เกิด, จุติจิต เป็นชื่อของจิตดวงที่เคลื่อนจากภพ ที่เกิด แล้วเป็นปฏิสนธิจิตทันที ไม่มีจิต อื่นคั่น จะเกิดเป็นอะไรนั้น ก็แล้วแต่กรรม ที่ทำไว้.
จุทิต : กิต. (อันเขา) โจทแล้ว, กล่าวหาแล้ว, ติเตียนแล้ว
จุทิตก : (ปุ.) คนผู้อันเขาทักท้วง, คนผู้แก้, จำเลย. จุทฺ โจทเน, โต, อิอาคโม. ก สกัด.
จุพุก : (นปุ.) คาง. จิพุ โอลมฺพเน, ณฺวุ, อิสฺสุตฺตํ.
มจฺจุ : (ปุ.) ความตาย วิ. มรณํ มจฺจุ. จุ ปัจ. ลบ รฺ ซ้อน จฺ หรือลง ตฺยุ ปัจ. แปลงเป็น จุ ซ้อน จฺ หรือแปลง ตฺยุ เป็น จฺจุ อภิฯ รูปฯ ๖๔๔.
ตุลปิจุ :
(ปุ.) ปุยนุ่น, นุ่นและสำลี. ดู ตูลปิจุ
ตูลปิจุ : (ปุ.) ปุบแห่งนุ่น, นุ่นและสำลี. รัสสะ อู เป็น อุ เป็น ตุลปิจุ บ้าง.
จญฺจุ : ไตร. จงอยปากของนก
จุจฺจุ : (อิต.) มัน, เผือก. จจฺจฺ ปริภาสนตชฺชเนสุ, อุ, อสฺสุ (แปลง อ ที่ จ เป็น อุ).
ปิจุ : นป. ฝ้าย; สัตว์ป่าชนิดหนึ่งกล่าวกันว่าเป็นลิง
มจฺจุปรายน : ค., มจฺจุปเรต กิต. มีความตายเป็นที่ไปในเบื้องหน้า
มจฺจุปาส : ป. บ่วงแห่งความตาย
มจฺจุมุข : นป. ปากแห่งความตาย
มจฺจุราช : เจ้าแห่งความตาย
โจล โจฬ : (นปุ.) ผ้า, แผ่นผ้า, ท่อนผ้า, จิลฺ วสเน, โณ, อิสฺโส. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ. อถวา, จุ จวเน, โล, โฬ. ส. ไจล, โจล.
จวน : (นปุ.) การเคลื่อน, การแตกดับ, การตาย, ความเคลื่อน, ฯลฯ. จุ จวเน, ยุ.
จุต : (วิ.) ตก, พลัด, หล่น, เคลื่อน, ไป. จุ จวนคมเนสุ, ต.
จุต จูต : (ปุ.) มะม่วง จุ จวเน, โต. จุติ อาเสว- นรกฺขเณสุ, อ. ศัพท์หลังทีฆะ.
จุติ : (อิต.) การเคลื่อน, การแตกดับ, การตาย, ความเคลื่อน, ฯลฯ. วิ. จวนํ จุติ. จุ จวเน, ติ. จุติ ไทยใช้เป็นกิริยาว่า ตาย. ส. จฺยุติ.
โจปน : (นปุ.) การยัง...ให้ไหว, การยัง...ไห้ หวั่นไหว. จุ จวเน, ณาเป ปัจ. เหตุ. และ ยุ ปัจ.
โจลกโจฬก : (นปุ.) โล่, ดาบ, ทับทรวง ชื่อ เครื่องประดับที่คอหรืออก ถ้าประดับม้า ใช้ประดับที่หน้าผาก. จุ จวเน จาวเน วา. โล, โฬ.
มุจลินฺท มุจฺจลินฺท : (ปุ.) ต้นจิก, ไม้จิก. จุลฺ นิมฺมชฺชเน, อินฺโท. เท๎วภาวะ จุ แปลงเป็น มุ ศัพท์หลังซ้อน จฺ หรือตั้ง มุจลฺ สงฺฆาเต.
กญฺจุกี : (ปุ.) คนใช้สำหรับฝ่ายใน, คนรับใช้ นางใน, คนแก่, เถ้าแก่. วิ. กญฺจุกํ โจฬํ, ตํโยคา กญฺจุกี. ณี ปัจ. ส. กญฺจุกิน.
กาลกต : (วิ.) ผู้อันความตายทำแล้ว, ผู้อัน ความตายคือ มัจจุทำแล้วคือให้พินาศแล้ว วิ. กาเลน มจฺจุนา กโต นาสิโต กาลกโต. ผู้มีกาละอันทำแล้ว, (ตายแล้วสิ้นชีพแล้ว), มรณะ, มรณภาพ, สิ้นพระชนม์, ฯลฯ.
กุมฺภภารมตฺต : ค. ซึ่งจุประมาณหนึ่งหม้อ; มีปริมาตรหนึ่งหม้อ
กุรุวินฺท : (ปุ.) พลอยแดง, ทับทิม. กุรุวินฺทสุตฺติ ก้อน-จุรณ์หินสีดังพลอยแดง.
จปล : (วิ.) ประพฤติผิดโดยไม่ตริตรองเสียก่อน, ประพฤติผิดโดยพลัน, กลับกลอก, โยก, โคลง, ไหว, หวั่นไหว, ไม่แน่นอน, พลิก- แพลง, รวดเร็ว. จปฺ กกฺกนสนฺตาเนสุ, อโล. อถวา, จุป จลเน, อโล. วิ. จุปติ เอกตฺเถ น ติฏฺฐตีติ จปโล. อุสฺส อตฺตํ.
จุทฺทส โจทฺทส : (ไตรลิงค์) สิบสี่ วิ. จตฺตาโร จ ทสา จาติ จุทฺทส โจทฺทส วา. จตูหิ วา อธิกา ทสาติ จุทฺทส โจทฺทส วา. จตุ+ทส ลบ ตุ แปลง จ เป็น จุ, โจ ลง โย วิภัตินาม ลบโยรูปฯ๒๕๖,๓๙๑. โมคฯสมาสกัณฑ์ ๑๐๐ ว่าแปลง จตุ เป็น จุ, โจ ซ้อน ทฺ เป็น จุทส โจทส โดยไม่ซ้อนบ้าง.
โจตฺตาลีส โจตฺตาฬีส : (อิต.) สี่สิบสี่. จตุ+ ตาลีส. รูปฯ ๒๕๖ แปลง จ เป็น จุ, โจ ลบ ตุ ซ้อน ตฺ. โมคฯ สมาสกัณฑ์ ๑๐๐ แปลง จตุ เป็น จุ, โจ.
เทสนา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องแสดง, การแสดง, การบรรยาย, การชี้แจง, การแถลง, การสอน, เทสนา, เทศนา (การแสดงธรรม คำสั่งสอนในทางศาสนา). วิ. เทสียตีติ เท สนา. เทสนํ วา เทสนา, ทิสฺ ทิสิ วา อุจุจารเณ, ยุ, อิศฺถิยํ อา.
สิญฺจ สิญฺจน : (นปุ.) การรด, การราด. สิจุ ปคฺฆรเณ, อ, ยุ. ลงนิคคหิตอาคมประจำหมวดธาตุ.
เสล : (ปุ.) ภูเขา วิ. สิลา ปจุรา สนฺตฺยสฺมินฺติ เสโล. ณ ปัจ.
อญฺจน : (นปุ.) การไป, การถึง.การเป็นไป, การบูชา, การเคราพ, การนับถือ.อญฺจุคติปูชนาสุ, ยุ.
อติภุญฺชติ : ก. กินมาก, กินจุ
อมฺพณ : (นปุ.) อัมพณะชื่อภาชนะสำหรับตวง(สัด) จุของ ๑๖ ทะนาน, ถังไม้, ถังตวงข้าว.
อวญฺจน : (วิ.) ไปไม่ได้, เดินไม่ได้.นปุพฺโพ, วญฺจุคติยํ, ยุ.
โอทริกต : นป. การทำท้องให้เต็มคือกินจุ
โอทริก, - ริย : ค. จะกละ, กินจุ, เห็นแก่กิน