นิคม : (ปุ.) ย่านการค้า, หนทางพ่อค้า, ตลาด, หมู่บ้าน, หมู่บ้านใหญ่, ตำบล, บาง, นคร, เวท, คำซ้ำ, คำกล่าวซ้ำ. ส. นิคม.
อาปณ : (ปุ.) ที่เป็นที่มาเป็นไป, ร้านเป็นที่มาแผ่ร้านขายของ, ตลาด, ร้านตลาด, การค้าขายวิ. อาปณายนฺเตพฺยวหารยนฺเตอสฺมินฺติอาปโณ.อาปุพฺโพ, ปณฺวฺยวหาเร, โณ.เป็นนปุ.บ้าง.ส. อาปณ.
กรงฺคณ : นป. ตลาด
กจงฺคน : นป. ตลาดเสรี
ทิวสวลญฺช : (ปุ.) การใช้สอยในวันๆ, ค่าใช้ สอยในวันๆ, ค่าใช้จ่ายในวันๆ, รายจ่ายในวันๆ, รายจ่ายประจำวัน. วิ. ทิวเส ทิวเส วลญฺชิตพฺโพ ทิวสวลญฺโช. ทิวสทิสปุพฺโพ, วลชิ วลญฺชเน, อ. ลบ ทิวส ๑ ศัพท์
ปทตฺต : กิต. (อันเขา) ให้แล้ว, มอบให้แล้ว, แจกจ่ายแล้ว
ปทาตุ : ป. ผู้ให้, ผู้แจกจ่าย; คนฟุ่มเฟือย, ผู้ใช้จ่ายสุรุ่ยสุร่าย
ปริพฺพย : ป. เสบียง, โสหุ้ย, รายจ่าย, ค่าจ้าง
ภตฺตวิสฺสคฺค : ป. การแจกจ่ายอาหาร
วิตรณ : นป. การจ่ายให้, การข้ามไป
เวภงฺคิย : ค. ควรแจกจ่าย
สลากคฺค : นป. ห้องจ่ายสลาก
สวิภาค : ป. การจำแนกแจกจ่าย
เสนาสนคาหาปก : ป. ผู้แจกจ่ายเสนาสนะ
เหรญฺญก : (ปุ.) บุคคลผู้เกี่ยวกับเงิน, พนักงานคลังเงินทอง, เหรัญญิก ชื่อคนผู้ดำรงตำแหน่งกรรมการของสมาคมหรือหน่วยงาน มีหน้าที่รับเก็บและจ่ายเงิน.
อปฺปฏิวิภตฺต : ค. ซึ่งไม่ถูกแบ่ง, ซึ่งไม่ถูกแจกจ่าย
อาปณิก : (ปุ.) บุคคลผู้อยู่ในร้านเป็นที่มาแผ่, คนผู้เป็นเจ้าของแห่งร้านตลาด, คนผู้ซื้อและขาย, พ่อค้า.ส. อาปณิก.
โอโนชน : นป. การแจกจ่าย, การมอบให้, วิภาคกรรม
โอโนเชติ : ก. จำแนก, แจกจ่าย, อุทิศให้
อากาสานญฺจายตน : (นปุ.) อากาสานัญจายตนะชื่อของอรูปฌานที่๑วิ. อากาสานญฺจํอายตนํอากาสานญฺจายตนํ.อากาสานญฺจํอายตนํอสฺสาติวาอากาสานญฺจายตนํ.
อากาสานญฺจายตนภูมิ : (อิต.) อากาสานัญจาย-ตนภูมิชื่อภูมิของอรูปพรหมที่๑.
ปทวิคฺคห : ป. การวิเคราะห์บท, การแยกคำออกอธิบาย, การกระจายบทสมาสออกให้เห็นส่วนประกอบ, บทวิเคราะห์
ปทวิภาค : ป. การแจกบท, การกระจายคำ
ผรณตา : อิต. การแผ่ไป, การซ่านไป, การกระจายไป, การเสียวซ่าน
ผุณ ผุณน : (นปุ.) การกระจาย, การเรี่ยราย, การกำจัด, การขจัด. ผุณฺ วิกรณวิธุนเนสุ, อ, ยุ.
พฺยปถ พฺยปฺปถ : (ปุ.) ทางแห่งวาจา, คลองแห่งวาจา, คำเป็นทาง, ถ้อยคำเป็นทาง. วาจา+ปถ. วาจาย โพฺย ปเถ เพราะ ปถ ศัพท์อยู่หนปลาย แปลงวาจาศัพท์เป็น พฺย. ศัพท์หลังซ้อน ปฺ.
ภทฺทกจฺจานา ภทฺทกจฺจายา : (อิต.) ภัททกิจจานา ภัททกัจจายนา พระนามของพระมเหสีเจ้าชายสิทธัตถะ, พระนางพิมพา.
มหากจฺจายน : (ปุ.) พระมหากัจจายนะ ชื่อ พระเถระครั้งพุทธกาลองค์หนึ่ง ซึ่งเป็นเอตทัคคะในการบรรยายธรรมให้พิสดาร.
วิตฺถมฺภนฺ : นป. การสูบควัน, การกระจาย, การขยายตัว, การพอง
วิยูหน : นป. การถอนออก, การกระจายไป
สึมา : (อิต.) เขต, แดน, เขตแดน. วิ. สียเต สมคฺเคน สํเฆน กมฺมวาจาย พนฺธียเตติ สีมา. สึ พนฺธเน, โม, อิตฺถิยํ อา. รูปฯ ตั้ง สิ พนฺธเน. ทีฆะ อิ เป็น อี ส. สีมา.