กตมุข : (วิ.) มีฝีมือ, ฉลาด, ชำนาญ. วิ. กตํ มุขํ อุปาโย อเนนาติ กตมุโข.
กตหตฺถ : (วิ.) มีฝีมือ, ฉลาด, ชำนาญ. วิ. กโต อภฺยาสิดต หตฺโถ ปทตฺโพ เยน โส กตหตฺโถ.
กติ : (วิ.) มีฝีมือ, ฉลาด, ชำนาญ. วิ. กตํ อลฺลํ อสฺส อตฺถีติ กติ.
กุสล : (วิ.) มีฝีมือ, ฉลาด, ชำนาญ, คล่อง, คล่องแคล่ว, มั่งคั่ง, งาม, ดี. เหมาะ, ควร, สมควร, ถูก (ไม่ผิด), ถูกต้อง, ไม่มีโทษ, ไม่มีโรค, สบาย. ส. กุศล.
จตุร : (วิ.) มีฝีมือ, ฉลาด, ชำนาญ. วิ. จตยตีติ จตุ โร. จตฺยาจเน, อุโร.
โจกฺข : ค. สะอาด, น่าพอใจ; ฉลาด
เฉก : (วิ.) มีฝีมือ, ฉลาด, ชำนาญ, เฉียบแหลม. ฉิทิ เทฺวธากรเณ, อ. แปลว่าเชื่อง, โง่, เขลา ก็มี. ส. เฉก, เฉกฺร.
ทกฺข : (วิ.) มีฝีมือ, ขยัน, ขันแข็ง, แข็งแรง, ฉลาด, สามารถ, เร็ว, ว่องไว, คล่องแคล่ว, ชำนาญ, เหมาะ, สันทัด. วิ. ทกฺขติ กุสลธมฺเม อญฺญสฺมิญฺจ กิจฺจากิจฺเจ อทนฺธตาย สีฆํ คจฺฉตีติ ทกฺโข. ทกฺขฺ วุฑฺฒิหึสาคติสีเฆสุ, อ. ทลฺ ทิตฺติยํ วา, โข, ลสฺส โก. ส. ทกฺษ.
นิ : (อัพ. อุปสรรค) เข้า,ลง,ออก,ไม่เหลือ,ไม่มี,ทิ้ง,วาง,บน,ยิ่ง,พ้น,ประชุม,รวม,กอง,อยู่,อ้าง,เปรียบ,ใส,ต่ำ,ต่ำช้า,เลว,ติเตียน,ฉลาด,หลักแหลม.ส.นิรฺ.
นิปุณ : (วิ.) อัน...กรองแล้วโดยไม่เหลือ, อัน...ชำระแล้วโดยไม่เหลือ. นิปุพฺโพ, ปุ ปวเน, ยุ. ละเอียด, สุขุม, นุ่มนวล, ฉลาด, หลักแหลม, ชำนาญ. นิปุพฺโพ, ปุณฺ นิปุเณ, อ. นิศัพท์ลงในอรรถ เฉก. ส. นิปุณ.
เปสล : (วิ.) มีฝีมือ, เก่ง, ฉลาด, เชี่ยวชาญ, ชำนาญ, ขยัน. ปิสฺ หึสาพลทานนิเกตเนสุ, อโล.
พฺยตฺต : (วิ.) ผู้เป็นไปวิเศษ, ปรีชา, ฉลาด, เฉียบแหลม, แจ้ง แจ่มแจ้ง. วิเสส+อทฺ ธาตุในความเป็นไป ต ปัจ.
มุข : (วิ.) เป็นใหญ่, เป็นประธาน, เป็นประมุข, เป็นหัวหน้า, เป็นประถม, ฉลาด, ชำนาญ.
สีฆตุถ : (วิ.) คล่อง, ฯลฯ, เชี่ยว, ฉลาด, ขยัน.
อุคฺฆฏิต : ค. ถูกยกขึ้น, ฉลาด, มีปัญญา
วฺยตฺต : ๑. ป. ผู้เรียน, ผู้รู้ ;
๒. ค. ฉลาด
กตพุทฺธิ : ค. ผู้มีใจอันฝึกฝนแล้ว, ผู้ฉลาด
กลฺยาณกุสล : ค. ผู้ฉลาดหรือชำนาญในสิ่งที่ดีงาม
กากปญฺญา : อิต. ความฉลาดเยี่ยงกา, ความฉลาดแกมโกง
กากสูร : ๑. ป. กาตัวกล้า, ความกล้าของกา;
๒. ค. ผู้กล้าเหมือนอย่างกา, ผู้ฉลาดเหมือนอย่างกา, ผู้ไม่มียางอาย
กุสลตา : อิต. ความเป็นผู้ฉลาด, ความชำนาญ
โกวิท : (วิ.) ฉลาด, รู้, ชำนาญ, ปรีชา. ส. โกวิท.
โกสล : (นปุ.) ความเป็นแห่งคนฉลาด, ความเป็นคนฉลาด, ความเป็นผู้ฉลาด. วิ. กุสลสฺส ภาโว โกสลฺลํ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท.
โกสลฺล : นป. ความเป็นคนฉลาด
ขฺยาต : (วิ.) ปรากฏ, รู้, ชำนาญ, เฉียบแหลม, เฉลียวฉลาด, มีชื่อเสียง ขฺยา ปกาสเน, โต.
คติเฉกภาว : (ปุ.) ความฉลาดในการดำเนิน, ฯลฯ.
จฏล : ค. ผู้ฉลาด, ผู้ชำนาญ
จาตุริย : นป. ความฉลาด, ความชำนาญ, ความสันทัด
จิตฺตกถ, - กถิก, - กถี : ค. ผู้กล่าวถ้อยคำอันวิจิตร, ผู้กล่าวถ้อยคำไพเราะ, ผู้เป็นนักพูดที่ฉลาด, ผู้มีวาทศิลป์, ผู้เป็นนักเทศน์
เฉกตา : อิต. ความเป็นแห่งบุคคลผู้ฉลาด, ความฉลาดเฉียบแหลม
ติกฺข : ค. ฉลาด, คม, หลักแหลม
ทกฺขตา : อิต. ความเป็นผู้ฉลาดสามารถ, ความชำนาญ, ความคล่องแคล่ว
ทกฺเขยฺย : นป. ความเป็นผู้ฉลาดสามารถ, ความชำนาญ
ทพฺพชาติก : ค. ผู้มีชาติแห่งคนฉลาด, ผู้ฉลาดสามารถ
ทิสากุสล : ค. ผู้ฉลาดเรื่องทิศ, ผู้รู้จักทิศ
เทสนาวิธีกุสลตา : (อิต.) ความที่แห่ง...นั้น เป็นผู้ฉลาดในวิธีแห่งการแสดง, ความที่ แห่งพระพุทธเจ้าทรงเป็นผู้ฉลาดในวิธี แห่งเทศนา.
โทสญฺญู : ค. ผู้รู้ซึ่งโทษ, ผู้รู้จักว่าสิ่งใดเป็นโทษ, ผู้ฉลาด
ธาตุกุสล : ค. ผู้ฉลาดหลักแหลมในเรื่องธาตุ
โธน : (วิ.) ผู้มีปรีชา, ผู้มีปัญญา, ผู้ฉลาด, โธรฺ คติเฉกภาเว, อ. แปลง ร เป็น ณ แปลง ณ เป็น น.
นิปก : (วิ.) ผู้ยังกุศลกรรมให้สุกโดยไม่เหลือ (คือมีในตนให้สมบูรณ์), ปัญญาอัน ยังกุศลธรรมให้สุกโดยไม่เหลือ. วิ นิสฺเสสโต ปาเจติ กุสลธมฺเมติ นิปโก. นิปปุพฺโพ, ปจฺ ปาเก, อ, จสฺส โก.ผู้มี ปัญญาเป็นเครื่องรักษาซึ่งตนโดยไม่เหลือ, ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องรักษาตน,ผู้มีปัญญา รักษาตน, ผู้รักษาตนให้สิ้นจากปฏิปักษ์. นิปุพฺโพ, ปา รกฺขเณ, อ, สกตฺเถ โก.ผู้ยัง ปฏิปักษ์ให้สิ้น วิ.นิปยติปฏิกฺขนฺติ นิปโก. นิปุพฺโพ, เป โสสเน, อ, สกตเถ โก.ผู้มี ไหวพริบ,ผู้ฉลาด,ผู้รอบคอบ,ผู้มีปัญญา, ผู้มีปัญญาแจ่มแจ้ง,ผู้มีความรู้,ผู้มีความ ตรัสรู้,ผู้มีญาน, ผู้มีปัญญาทำลายกิเลส. ไตร. ๓๐/๒๑๐.
นิปฐ : ป. ปาฐะ, การสอน, ความฉลาด, การเรียน, การหัดอ่าน
นิปฐ นิปาฐ : (ปุ.) การอ่าน, การฉลาดสอน, ความฉลาดสอน, การอธิบาย, การชี้แจง นิปุพฺโพ, ปฐ วิยตฺติวาจาวิขฺยาเนสุ, อ, โณ.
เนปกฺก : นป. การเฉลียวฉลาด
เนปุญฺญ : นป. ความเฉลียวฉลาดในงานฝีมือ
ปญฺญ : ค. ฉลาด, มีความรู้
ปฏิจฺจสมุปฺปาทกุสล : ค. ผู้ฉลาดในปฏิจจสมุปบาท
ปฏุ : ค. ฉลาด, ชำนาญ, คล่องแคล่ว, เฉียบแหลม, คม, มีสุขภาพดี
ปฏุตา : อิต., ปฏุตฺต นป. ความฉลาด, ความชำนาญ
ปฐ : ค. ฉลาด, สามารถ, ชำนาญ, เชี่ยวชาญ
ปณฺฑิจฺจ : นป. ความเป็นบัณฑิต, ความเฉลียวฉลาด, ความเฉียบแหลม