Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ฉะ , then , ฉะ, ฉา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ฉะ, 144 found, display 1-50
  1. : (ไตรลิงค์) หก. แจกรูปเหมือน ปญฺจ.
  2. โทณี : (อิต.) เรือชะล่า โบราณเขียนฉะหล้า, สัดจอง (ทุ่น แพ เรือ), เรือโกลน. วิ. ทวติ วหตีติ โทณี. ทุณฺ คติหึสาสุ, อ, อิตฺถิยํ อี.
  3. ฉาตกภย : (นปุ.) ภัยคือความหิว วิ. ฉาตโก เอว ภยํ ฉาตกภยํ. ภัยอันเกิดจากความหิว วิ. ฉาตกมฺหา ชาตํ ภยํ ฉาตกภยํ. ไทยใช้ ฉาตกภัยในความหมายว่า ภัยอันเกิดจาก ไม่มีอาหารการกิน ข้าวยากหมากแพง ภัย อันเกิดจากความแห้งแล้ง.
  4. ฉาตกาล : นป. ฉาตกาล, ฉาตสมัย, เวลาหรือคราวอดอยาก
  5. ฉาริกา : (อิต.) เถ้า, ขี้เถ้า, ถ่านเย็น. วิ. มลสฺส สรณํ กโรตีติ สาริกา, สา เอว ฉาริกา.
  6. ฉนวุติ : ค. เก้าสิบหก
  7. ฉวกุฏิกา : อิต. กระท่อมผี, ที่เก็บศพ
  8. ฉวสีส : (นปุ.) กระโหลกผี. ส. ศวศีรฺษ.
  9. ฉวาลาต : นป. ถ่านไฟจากฟืนเผาศพ
  10. ฉวิกลฺยาณ : นป. ความงามแห่งผิว
  11. ฉวิโรค : ป. โรคผิวหนัง
  12. ฉวิวณฺณ : ป. ผิวพรรณ, สีของผิว
  13. ฉสหสฺส : นป. หกพัน
  14. ฉาทาเปติ : ก. ให้ปกปิด, ให้กำบัง, ให้ห่อหุ้ม
  15. ฉาทิต : ค. อันเขาปกปิดแล้ว, อันเขากำบังแล้ว, อันเขาห่อหุ้มแล้ว, อันเขามุงแล้ว
  16. ฉาเทติ : ก. ปกปิด, กำบัง, ห่อหุ้ม; ให้ดีใจ, ให้ยินดี, ชอบ
  17. ฉาริกามลฺลก : (ปุ.) ที่เขี่ยบุหรี่.
  18. ติกิจฺฉา : (อิต.) การเยียวยา, การรักษา, การพยาบาล. กิตฺ โรคาปยเน, โฉ, ยุ. เทว๎ภาวะ กิ. แปลง กิ เป็น ติ แปลง ตฺ เป็น จฺ ศัพท์หลังลง ฉ ปัจ. ตัวเดียว ไม่ต้อง ลง ยุ ปัจ.
  19. กิจฺฉ : (วิ.) ลำบาก, ฝืดเคือง, ทุกข์, ยาก, ทุกข์ยาก.
  20. กิจฺฉติ : ก. ยาก, ลำบาก, ทุกข์, ขัดสน
  21. กูฏวินิจฺฉยิกถา : อิต. คำวินิจฉัยที่ไม่ถูกต้อง, ถ้อยคำเท็จ
  22. จิกิจฺฉติ : ก. คิด, ใคร่ครวญ, พิจารณา, ตั้งใจ, มุ่งหมาย; เยียวยา, รักษา
  23. จิกิจฺฉา : (อิต.) การเยียวยา, การพยาบาล, การรักษา.
  24. ฉู : (ปุ.) คนใช้, คนรับใช้. ฉุ หีนเฉทเนสุ, อ, ทีโฆ.
  25. ติกิจฺฉติ : ก. เยียวยา, รักษา, บำบัดโรค
  26. ติกิจฺฉาเปติ : ก. ให้เยียวยา, ให้รักษา
  27. ติณฺณกถงฺกถ, ติณฺณวิจิกิจฺฉ : ค. ผู้มีความสงสัยอันข้ามพ้นแล้ว, ผู้ข้ามความสงสัยแล้ว, ผู้หมดความสงสัยแล้ว
  28. เตกิจฺฉ : ค. อันแก้ไขได้, ซึ่งพอจะรักษาได้, ผู้ควรเยียวยา
  29. ทารกติกิจฺฉา : อิต. กุมารเวชศาสตร์, การรักษาโรคเด็ก, วิชารักษาโรคเด็ก
  30. นิจฺฉรณ : นป. การปล่อยออก, การซ่านออก, การฟุ้งไป, การเปล่ง, การช่วยให้มีอิสระ
  31. นิจฺฉรติ : ก. ปล่อยออก, สลัดออก, ซ่านออก, เปล่งออก, ฟุ้งไป, ออกจาก
  32. นิจฺฉาเทติ : ก. เขย่า, สั่น, แกว่งไปมา
  33. นิจฺฉาเรติ : ก. ปล่อยออก, สลัดออก, เปล่งออก, พูด
  34. นิพฺเพจิกิจฺฉา : อิต. ดู นิพฺพิจิกิจฺฉา
  35. นิวิจิกิจฺฉา : อิต. ความแน่ใจ, หมดข้อสงสัย
  36. ปเวจฺฉติ : ก. ให้; หลั่งไหล
  37. วิจิกิจฺฉติ : ก. สงสัย
  38. วิจิกิจฺฉา : อิต. ความสงสัย
  39. สเตกิจฺฉา : ค. พอจะเยียวยาได้
  40. อเตกิจฺฉ : ค. แก้ไขไม่ได้, เยียวยาไม่ได้
  41. อเตกิจฺฉา : (อิต.) แก้ไขไม่ได้, เยียวยาไม่ได้.
  42. อนิจฺฉา : อิต. ความไม่ปรารถนา
  43. อนุปเวจฺฉติ : ก. โปรยปราย, เพิ่มให้, สละ
  44. อวิจิกิจฺฉา : อิต. ความไม่ลังเล, ความไม่แน่ใจ
  45. อุจฺฉาเทติ : ก. ถู, สี
  46. กฏจฺฉุภิกฺขามตฺตทาน : (นปุ.) การให้ซึ่งวัตถุ มีภิกษาทัพพีหนึ่งเป็นประมาณ. เป็น ทุ ตัป. มี วิเสสนบุพ. กับ., ฉ. ตุล. และ วิเสสนปุพ. กัม. เป็นท้อง. คำว่าหนึ่งเป็น คำเหน็บเข้ามา ไม่ใช่เอก ศัพท์.
  47. กรุณาเวคสมุสฺสาหิตมานาส : (วิ.) ผู้มีฉันทะ มีในใจอันกำลังแห่งกรุณาอันให้อุตสาหะ พร้อมแล้ว. เป็น วิเสสนบุพ. กัม. มี ณ ปัจ. ราคาทิตัท. ส ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ฉ. ตัป. และ ต. ตัป. เป็นภายใน.
  48. กายจลนสีสุกฺขิปนภมุกวิการาทิ : (วิ.) มีอัน ไหวแห่งกายและอันยกขึ้นซึ่งศรีษะและอัน กระทำต่างแห่งคิ้ว (การยักคิ้ว) เป็นต้น, มีอันกระดิกซึ่งกาย และอันสั่นซึ่งศรีษะ และอันยักซึ่งคิ้วเป็นต้น. เป็น ฉ. ตุล. มี ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ อ. ทวัน. เป็นท้อง.
  49. กายทุจฺจริตาทิปเวสนนิวารณตฺถาจาร : (วิ.) ผู้มีอาจาระอันเกียดกันเสีย ซึ่งความเข้าไปแห่งความประพฤติชั่วมีความประพฤติชั่ว ด้วยกายเป็นต้นเป็นประโยชน์. เป็น ฉ. ตุล. มี ต. ตัป. ฉ. ตุล, ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ ฉ. ตุล. เป็นท้อง.
  50. เกลาสกูฏปฏิภาค : (วิ.) มีส่วนเปรียบด้วยยอด แห่งภูเขาชื่อว่าไกลาส มี วิ. ดังนี้. สัมภาวนปุพฺ กัมฺ เกลาโส อิติ ปพฺพโต เกลาสปพฺพโต. ฉ. ตัป. เกลาสปพฺพตสฺส กุโฏ เกลาสกูโฏ. ฉ. ภินน. พหุพ. เกลาสกูเฏน ปฏิภาโค เยน โส เกลาสกูฏปฏิภาโค (วรวารโณ).
  51. [1-50] | 51-100 | 101-144

(0.0119 sec)