เอวเมว : (อัพ. นิบาต) ฉันนั้นนั่นเทียว, ฉัน นั้นเหมือนกัน, ก็ฉันนั้นเหมือนกัน.
อสฺมิ : ก. (ฉัน) เป็น, มี
ฉนฺโทวิจิติ : (อิต.) ฉันโทวิจิติ ชื่อวิธีเรียนพระเวท อย่าง ๑ ใน ๖ อย่าง คือรู้จัก คณะฉันท์ และแต่งฉันท์ได้.
คณโภชน : (นปุ.) โภชนะเป็นคณะ, การฉันเป็น หมู่. ภิกษุตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไปรับนิมนต์ ออกชื่อโภชนะ คือทายกทายิกา นิมนต์ โดยออกชื่ออาหาร เช่นกล่าวว่า นิมนต์ฉันแกงไก่ แล้วภิกษุไปฉัน เรียกว่าคณะโภชนะ (ฉันเป็นคณะ). โภชนวรรคสิกขาบทที่ ๒ ไตร. ๒/๓๑๓.
ตถตฺตา : (อัพ. นิบาต) เพียงนั้นนั่นเทียว, เหมือนกัน, ฉันนั้น. ตถา+อิว รฺ อาคม.
ตถริว : อ. ฉันนั้น, เหมือนอย่างนั้น
ตถา : (อัพ. นิบาต) ฉันนั้น, อย่างนั้น, เหมือน กัน, เหมือนอย่างนั้น, มีอุปมัยเหมือน อย่างนั้น, ประการนั้น. รูปฯ ๔0๕ ตั้ง วิ. ไว้ ๓ วิภัตติ กัจฯ ๓๙๘ ตั้ง วิ. ไว้ทุกวิภัตติ ตามแต่เนื้อความในประโยคนั้น ๆ.
ตถา จ : (อัพ. นิบาต) ก็ ฉันนั้น ฯลฯ.
ตถา นาม : (อัพ. นิบาต) ชื่อฉันนั้น, ฯลฯ.
ตถา หิ : (อัพ. นิบาต) ฉันนั้นแล, เพราะเหตุ นั้น, จริงอย่างนั้น.
ตถา เอว ตเถว : (อัพ. นิบาต) ฉันนั้น, อย่างนั้น นั่นเที่ยว, เหมือนอย่างนั้น.
ตเถว : อ. ฉันนั้นแล, ในทำนองเดียวกัน, เหมือนกันนั่นแหละ
ตนุ : (อิต.) กาย, ร่างกาย, ตน, หนัง. วิ.ตโนติ สํสารทุกฺขนฺติ ตนุ. ตนุ วิตถาเร, อุ. รูปฯ ๖๓๕ ลง ณุ ปัจ. ไม่ทีฆะ. ไทยใช้ ดนุ เป็นสัพพนามแทนผู้พูด. ฉันข้าพเจ้าฯลฯ.
ทกฺขิโณทก : (นปุ.) น้ำอันบุคคลพึงให้เพื่อทาน สมบัติอันเจริญ, ทักขิโณทก, ทักษิโณทก. เดิมคำนี้เป็นชื่อของน้ำที่เจ้าภาพถวายแด่ พระก่อนจะฉันภัตตาหาร เพื่อใช้บ้วนปาก ล้างมือหรือชุบมือ ( กรณีฉันด้วยมือ ) แต่ปัจจุบันนี้หมายถึงน้ำที่เจ้าภาพหลั่ง ( เทให้ใหลลงช้าๆ โดยไม่ขาดสาย ) เวลา ทำบุญ เพื่ออุทิศส่วนกุศลแด่ผู้ล่วงลับไป แล้ว หรือเป็นชื่อของน้ำที่เจ้าของสิทธิ์ หลั่งลง เป็นการแสดงการมอบของที่ไม่ สามารถยกได้ให้เป็นสิทธิ์ขาด อีกอย่าง หนึ่ง เป็นชื่อของเต้าน้ำ ราชาศัพท์ใช้ว่า พระเต้าษิโณทก คำกลอนมักตัดทักออก ใช้ว่า ษิโณทก.
ปตฺตปิณฺฑิก : ป. ภิกษุผู้ถือฉันอาหารเฉพาะในบาตรเป็นวัตร
ปตฺตปิณฺฑิกงฺค : (นปุ.) องค์แห่งภิกษุผู้มีการถือเอาอาหารในบาตรเป็นวัตร, องค์แห่งภิกษุผู้ถือการฉันอาหารในบาตรเป็นวัตร, องค์แห่งภิกษุผู้ถือการฉันเฉพาะในบาตร เป็นวัตร, ปัตตปิณฑิกังคะ ชื่อธุดงค์อย่างที่ ๖ ในธุดงค์ ๑๓.
ปรมฺปรโภชน : (นปุ.) โภชนะอันคนอื่นนิมนต์ ภายหลัง, โภชนะที่คนนิมนต์ทีหลัง. ภิกษุ รับนิมนต์ฉันไว้แห่งหนึ่ง แล้วไม่ไปฉัน กลับไปฉันที่เขานิมนต์ทีหลังอันเป็นเวลา เดียวกัน เรียกว่า ฉันเป็นปรัมประ ทรง ห้ามไว้ พุทธประสงค์ เพื่อรักษาศรัทธา ( หน้า ) ของทายกทายิกาผู้นิมนต์ก่อน. ปญฺจนฺนํ โภชนานํ อญฺญตเรน โภชเนน นิมนฺติโต ตํ ฐเปตฺวา อญฺญานํ ปญฺจนฺนํ โภชนา นํ อญฺญตรํ โภชนํ ภุญฺชติ. เอตํ ปรมฺปรโภชนํ นาม. ไตร. ๒/๓๒๐
ปิณฺฑปาติก : ค. ภิกษุผู้ถือการฉันอาหารที่ได้มาจากบิณฑบาตเป็นปกติ
ปิณฺฑปาติกตฺต : นป. ความเป็นแห่งภิกษุผู้ถือการฉันอาหารที่ได้มาจากการบิณฑบาต
ปุเรภตฺต : (นปุ.) ก่อนแห่งภัต, กาลก่อนแต่กาลแห่งภัต (ในเวลาก่อนฉัน), ก่อนอาหาร, เวลาก่อนอาหาร, ปุเรภัต, วิ. ภตฺตสฺส ปุเร ปุเรภตฺตํ. ภตฺตา วา ปุเร ปุเรภตฺตํ.
ภตฺตกาล : (ปุ.) เวลาแห่งภัต, ภัตกาล คือ เวลาฉันอาหารของภิกษุ-สามเณร หรือ ผู้รักษาอุโบสถศีล.
ภตฺตกิจฺจ : (นปุ.) กิจด้วยภัต คือ การฉันอาหาร.
ภตฺตคฺค : (ปุ.) โรงแห่งภัต, โรงสำหรับฉันอาหาร, โรงฉัน, หอฉัน.
ภตฺตคฺควตฺต : (นปุ.) มารยาทในโรงฉัน, ข้อปฏิบัติในโรงฉัน.
ภุตฺตาวเสสกภตฺต : (นปุ.) ภัตอันเหลือจากภัตอันภิกษุฉันแล้ว.
โภชน : (นปุ.) วัตถุอัน...พึงกิน, สิ่งอัน...พึงกิน, การกิน, การฉัน, ของกิน, ของบริโภค, เครื่องบริโภค, ข้าว, อาหาร. วิ. ภุญฺ-ชิตพฺพนฺติ โภชนํ. ภุญฺชิ-ยตีติ วา โภชนํ. ภุญฺชนํ วา โภชนํ. ยุ ปัจ.
โภชนาสาลา : (อิต.) ศาลาแห่งโภชนะ, หอฉัน.
โภชนิย โภชนีย : (นปุ.) วัตถุอัน...พึงกิน, ของควรบริโภค, ของฉัน.
มาทิส : ค. เช่นกันฉัน
ยามกาลิก : (นปุ.) ของเป็นยามกาลิก คือของที่ภิกษุรับประเคนแล้ว ฉันได้ชั่วคราว คือวันหนึ่งกับคืนหนึ่ง ได้แก่ น้ำอัฐบาน.
ยาวกาลิก : (นปุ.) ของเป็นยาวกาลิก คือของที่ภิกษุรับประเคนได้เฉพาะเวลาเช้าถึงก่อนเที่ยง และฉันได้เช้าชั่วเที่ยงเท่านั้น ได้แก่ ข้าว อาหารทุกอย่าง.
ยาวชีวิก : (นปุ.) ของเป็นยาวชีวิก คือ ของจำพวกยา ภิกษุรับประเคนได้ทุกเวลา และฉันได้ตลอดไปตามอายุของยา.
สภาคาปตฺติ : (อิต.) อาบัติเหมือนกัน, สภาคาบัติ ชื่ออาบัติที่ภิกษุต้องเหมือนกัน เช่น ต้องอาบัติปาจิตตีย์ เพราะฉันอาหารในเวลาวิกาล ท่านห้ามไม่ให้แสดงแก่กันและกัน ต้องแสดงแก่ภิกษุที่ต้องอาบัติไม่เหมือนกัน ถ้าไม่สามารถหาภิกษุเช่นนั้นได้ จะแสดงก็ได้ แต่ท่านปรับอาบัติทุกกฎ ทั้งผู้แสดงและผู้รับแสดง.
สมณโวหาร : (ปุ.) โวหารของสมณะ, โวหารอันควรแก่สมณะ, สมณโวหาร คือคำที่สำหรับใช้กับสมณะนั้นมีอีกประเภทหนึ่ง เช่นรับประทานข้าว ว่า ฉันจังหัน นอน ว่า จำวัด เป็นต้น
อกปฺปิยมส : (นปุ.) เนื้อสัตว์อันไม่สมควรอกัปปิยมังสะคือเนื้อที่ภิกษุฉันไม่ได้มี ๑๐ อย่าง
อตฺตภาว : (ปุ.) ขันธปัญจกเป็นแดนเกิดแห่งอัสมิมานะว่าอันว่าตน, กายอันเป็นแดนเกิดแห่งนนามว่าอันว่าตน, ความเป็นแห่งตน, กาย, ร่างกาย, รูป, อัตภาพ (ลักษณะความเป็นตัวตน), อาตมภาพ (อาดตะมะภาพ)เป็นคำพูดแทนตัวพระสงฆ์ซึ่งใช้พูดกับผู้มีศักดิ์, อาตมา (อาดตะมา)เป็นคำแทนตัวพระสงฆ์ตรงกับคำว่าฉันข้าพเจ้าใช้พูดกับคนทั่วไปทั้งชายและหญิง. ส. อาตฺมภาว.
อมฺห : (ปุ. อิต.) ฉัน, ข้า, กู, ฯลฯ.คำแทนตัวภิกษุแปลว่าอาตมภาพ, อาตมา, รุป.ลูกพูดกับพ่อแม่แปลว่าลูก, หนู.หญิงพูดกับคนใกล้ชิดหรือคุ้นเคยหรือ คนรักแปลว่าหนูชายพูดกับหญิงที่รักแปลว่าเรียม, พี่. อมฺหศัพท์เป็นคำแทนตัวผู้พูดบาลีไวยากรณ์เป็นบุรุษที่๓ไวยากรณ์ไทยเป็นบุรุษที่๑.
อาสนสาลา : (อิต.) ศาลาเป็นที่นั่ง, ศาลา สำหรับนั่ง, โรงฉัน, หอฉัน.
อุปฏฺฐาน : (นปุ.) การอุปถัมภ์, ฯลฯ, ที่บำรุง, ที่เป็นที่บำรุง, ที่เป็นที่เข้าไปยืน, โรงฉัน. วิ. อุปคนฺตฺวา ติฏฺฐติ เอตฺถาติ อุปฏฺฐานํ. ยุ ปัจ.
อุปฏฐานสาลา : อิต. ศาลาเป็นที่บำรุง, หอฉัน, โรงฉัน
อุปฏฺฐาน สาลา : (อิต.) โรงฉัน, หอฉัน.
เอว : (อัพ. นิบาต) ฉันนั้น, อย่างนั้น, นี้, อย่างนี้, ด้วยประการนี้, ด้วยประการอย่าง นี้, ด้วยประการนั้นเทียว, เท่านั้น, อย่างนั้น. ที่ใช้เป็นประธาน เอวํ อ. อย่างนั้น, อ. อย่างนี้ ที่ใช้เป็นคำถาม เหน็บคำว่า “หรือ”.
เอวปิ เอวมฺปิ : (อัพ. นิบาต) แม้ฉันนั้น, แม้ อย่างนี้, แม้อย่างนั้น, ฯลฯ.
เอวมฺปิ : อ. ฉันนั้น, ดังนี้
เอวเมว : (อัพ. นิบาต) อย่างนั้นอย่างนั้น, อย่าง นั้น ๆ, ฉันนั้นฉันนั้น, ฉันนั้น ๆ.
ลญฺฉ, - ฉน : นป. เครื่องหมาย, รอย
ฉนฺทก : นป. การออกเสียงเลือกตั้ง; การรวบรวมทานเพื่อภิกษุสงฆ์
ฉนฺทน : (ปุ.) ความตั้งใจ, ฯลฯ. ฉนฺทฺ อิจฺฉายํ, ยุ.
ฉนฺทนานตฺต : นป. ความแตกต่างกันแห่งความพอใจหรือปรารถนา
ฉนฺทมูลก : ค. มีความพอใจเป็นมูล