ฉาตกภย : (นปุ.) ภัยคือความหิว วิ. ฉาตโก เอว ภยํ ฉาตกภยํ. ภัยอันเกิดจากความหิว วิ. ฉาตกมฺหา ชาตํ ภยํ ฉาตกภยํ. ไทยใช้ ฉาตกภัยในความหมายว่า ภัยอันเกิดจาก ไม่มีอาหารการกิน ข้าวยากหมากแพง ภัย อันเกิดจากความแห้งแล้ง.
ฉาตกาล : นป. ฉาตกาล, ฉาตสมัย, เวลาหรือคราวอดอยาก
ฉาริกา : (อิต.) เถ้า, ขี้เถ้า, ถ่านเย็น. วิ. มลสฺส สรณํ กโรตีติ สาริกา, สา เอว ฉาริกา.
ฉาทาเปติ : ก. ให้ปกปิด, ให้กำบัง, ให้ห่อหุ้ม
ฉาทิต : ค. อันเขาปกปิดแล้ว, อันเขากำบังแล้ว, อันเขาห่อหุ้มแล้ว, อันเขามุงแล้ว
ฉาเทติ : ก. ปกปิด, กำบัง, ห่อหุ้ม; ให้ดีใจ, ให้ยินดี, ชอบ
ฉาริกามลฺลก : (ปุ.) ที่เขี่ยบุหรี่.
ติกิจฺฉา : (อิต.) การเยียวยา, การรักษา, การพยาบาล. กิตฺ โรคาปยเน, โฉ, ยุ. เทว๎ภาวะ กิ. แปลง กิ เป็น ติ แปลง ตฺ เป็น จฺ ศัพท์หลังลง ฉ ปัจ. ตัวเดียว ไม่ต้อง ลง ยุ ปัจ.
จิกิจฺฉา : (อิต.) การเยียวยา, การพยาบาล, การรักษา.
ฉ : (ไตรลิงค์) หก. แจกรูปเหมือน ปญฺจ.
ติกิจฺฉาเปติ : ก. ให้เยียวยา, ให้รักษา
ทารกติกิจฺฉา : อิต. กุมารเวชศาสตร์, การรักษาโรคเด็ก, วิชารักษาโรคเด็ก
นิจฺฉาเทติ : ก. เขย่า, สั่น, แกว่งไปมา
นิจฺฉาเรติ : ก. ปล่อยออก, สลัดออก, เปล่งออก, พูด
นิวิจิกิจฺฉา : อิต. ความแน่ใจ, หมดข้อสงสัย
วิจิกิจฺฉา : อิต. ความสงสัย
สเตกิจฺฉา : ค. พอจะเยียวยาได้
อเตกิจฺฉา : (อิต.) แก้ไขไม่ได้, เยียวยาไม่ได้.
อนิจฺฉา : อิต. ความไม่ปรารถนา
อวิจิกิจฺฉา : อิต. ความไม่ลังเล, ความไม่แน่ใจ
อุจฺฉาเทติ : ก. ถู, สี
ฉาต : (วิ.) อยาก, อยากข้าว, หิว, อ่อนเพลีย, อิดโรย. ขาทฺ ภกฺขเณ, โต, ขสฺส โฉ, ทฺโลโป. ฉา ขุทายํ วา, โต.
ฉายา : (อิต.) เค้า คือสิ่งที่เป็นเครื่องกำหนด หมายให้รู้ สิ่งที่ส่อแสดงให้รู้ว่ามีลักษณะ เหมือนสิ่งอื่น, ความไม่มีแดด, เงา, ร่ม (บริเวณที่ไม่ถูกแดดไม่ถูกฝน), รูป, รูป เปรียบ, แสงสว่าง, ฉายา คือ ชื่อที่พระ – อุปัชฌายะตั้งให้เป็นภาษามคธเมื่ออุปสม – บท. วิ. เฉติ สํสยนฺติ ฉายา. ฉา เฉทเน, โย. ฉินฺทติ ปริสฺสมนฺติ วา ฉายา. ไทยใช้ เรียกชื่อภาษาไทยที่ตั้งกันเล่นๆตามลักษ – ณะที่หมายรู้กันในหมู่คณะ เช่น เปี๊ยก ว่ามี ฉายาว่า นายเปี๊ยก นอกจากนี้ยังหมายถึง นางผู้โฉมงามหรือเมียอีกด้วย.
ทสา : (อิต.) ชายผ้า, ชายครุย, ความเป็นอยู่, ความกำหนด, ระยะกาลของชีวิต. ทา เฉทเน, โส, รสฺโส, อิตฺถิยํ อา. ฉา เฉทเนวา, ฉสฺส โท. ส. ทศา.
กาเมสุมิจฺฉาจาร : (วิ.) (ประโยค) อันเป็น เครื่องประพฤติผิดในกามท. วิ. กาเมสุมิจฺ ฉาจรนฺติ เอเตนาติ กาเมสุมิจฺฉาจาโร.
ฉตฺต ฉตฺร : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ร่ม (เครื่องสำหรับกางป้องกันแดดเป็นต้น). วิ. อาตปาทึ ฉาเทตีติ ฉตฺตํ ฉตฺรํ วา. ฉทฺ สํวรเณ อปวารเณ จ, โต, ตฺรโณ. ฉัต ฉัตร ชื่อของเครื่องกกุธภัณฑ์ อย่าง ๑ ใน ๕ อย่าง อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของเครื่องสูง ทำเป็นชั้นๆ มีเสาเป็นแกน ชั้นใหญ่อยู่ ข้างล่าง ชั้นถัดขึ้นไปเล็กลงตามลำดับ ทำ ชั้นบ้าง ๕ ชั้นบ้างทำเป็น ๗ ชั้น สำหรับท่านผู้มีเกียรติอย่างสูง สำหรับพระ ราชาทำเป็น ๙ ชั้น ผู้อื่นจะทำเป็น ๙ ชั้น ไม่ได้ ส. ฉตฺร.
ฉทฺท : (นปุ.) หลังคา, หลังคาบ้าน. วิ. ฉาเทติ เอเตนาติ ฉทฺทํ. ฉทฺ ธาตุ อ ปัจ. แปลง ท เป็น ทฺท.
ฉุริกา : (อิต.) เถ้า, ขี้เถ้า, ถ่านเย็น. ฉาริกา เอว ฉุริกา.
ฉนวุติ : ค. เก้าสิบหก
ฉวกุฏิกา : อิต. กระท่อมผี, ที่เก็บศพ
ฉวสีส : (นปุ.) กระโหลกผี. ส. ศวศีรฺษ.
ฉวาลาต : นป. ถ่านไฟจากฟืนเผาศพ
ฉวิกลฺยาณ : นป. ความงามแห่งผิว
ฉวิโรค : ป. โรคผิวหนัง
ฉวิวณฺณ : ป. ผิวพรรณ, สีของผิว
ฉสหสฺส : นป. หกพัน
กิจฺฉ : (วิ.) ลำบาก, ฝืดเคือง, ทุกข์, ยาก, ทุกข์ยาก.
กิจฺฉติ : ก. ยาก, ลำบาก, ทุกข์, ขัดสน
กูฏวินิจฺฉยิกถา : อิต. คำวินิจฉัยที่ไม่ถูกต้อง, ถ้อยคำเท็จ
จิกิจฺฉติ : ก. คิด, ใคร่ครวญ, พิจารณา, ตั้งใจ, มุ่งหมาย; เยียวยา, รักษา
ฉู : (ปุ.) คนใช้, คนรับใช้. ฉุ หีนเฉทเนสุ, อ, ทีโฆ.
ติกิจฺฉติ : ก. เยียวยา, รักษา, บำบัดโรค
ติณฺณกถงฺกถ, ติณฺณวิจิกิจฺฉ : ค. ผู้มีความสงสัยอันข้ามพ้นแล้ว, ผู้ข้ามความสงสัยแล้ว, ผู้หมดความสงสัยแล้ว
เตกิจฺฉ : ค. อันแก้ไขได้, ซึ่งพอจะรักษาได้, ผู้ควรเยียวยา
นิจฺฉรณ : นป. การปล่อยออก, การซ่านออก, การฟุ้งไป, การเปล่ง, การช่วยให้มีอิสระ
นิจฺฉรติ : ก. ปล่อยออก, สลัดออก, ซ่านออก, เปล่งออก, ฟุ้งไป, ออกจาก
ปเวจฺฉติ : ก. ให้; หลั่งไหล
วิจิกิจฺฉติ : ก. สงสัย