ฉิชฺชติ : ๑. ก. อันเขาตัด, อันเขาทำให้แตก, อันเขาฉีก, อันเขาทำให้ขาด, อันเขาทำลาย, อันเขาเจาะ;
๒. ตัด, แตก, ฉีก, ขาด, ทำลาย
เฉเทติ, เฉทยติ : ก. ตัด, ทอน, ฉีก
ปาฏิต : ค. แตก, หัก, ฉีก
วิลูน : ค. ตัด, ฉีก
อนุกนฺตติ : ก. ตัด, ปาด, ฉีก
อุกฺกนฺตติ : ก. ตัด, ฉีก, ผ่า, แหวะ
ฉก : (นปุ.) ขี้, คูถ, สกฺ สตฺติยํ, อ, สสฺส, โฉ.
กณฺณเฉท : ป. การตัดหู, การฉีกหู
ฉิทฺทิต : ค. อันเขาตัดแล้ว, อันเขาทำแตกแล้ว, อันเขาฉีกแล้ว, อันเขาเจาะแล้ว
เฉทนก : ๑. นป. สิ่งที่ต้องตัดให้ถูกต้องตามวินัยกรรม, วิธีการตัดให้ถูกต้องตามวินัยกรรม ;
๒. ผู้ตัด, ผู้บั่น, ผู้ทอน, ผู้ฉีก
เฉทาปน : นป. การสั่งหรือใช้ให้ตัดหรือฉีก
เฉทาเปติ : ก. ให้ตัด, ให้ทอน, ให้ฉีก
โฉรณ : นป. การตัด, การทำให้ขาด, การบั่น, การทอน, การฉีก
ผาติ : (อิต.) อันทวี, อันทวีขึ้น, อันเจริญ, อันเจริญขึ้น, อันเพิ่ม, อันเพิ่มขึ้น, การทวี, ฯลฯ, ความทวี, ฯลฯ. ผา ผายฺ วา วุฑฺฒิยํ, ติ. ถ้าตั้ง ผายฺ ธาติพึงลบ ยฺ. การผ่า, การตัด, การฉีก, การแหก, การแยก, การแบ่ง. ผา ผาลเน, ติ.
วิทารณ : นป. การผ่า, การฉีก, การทำลาย
สมฺปทาลน : นป. การฉีก, การผ่า, การทำลาย
สมฺปทาเลติ : ก. ฉีก, ผ่า, ทำลาย
อวกนฺตติ, โอกนฺตติ : ก. ตัดออก, ผ่าออก, ฉีกออก
อุพฺพตฺเตติ : ก. ให้พองขึ้น, ให้บวม ; ฉีกออก; เดินทางผิด
โอปาเฏติ : ก. แก้, เปิด, ฉีกออก, เจาะ, เฉือน
กจฺฉก : (ปุ.) ต้นไทร, ต้นเต่าร้าง. กจฺ พนฺธเน, โฉ, สกตฺเถ โก.
โคจฺฉก : (ปุ.) ช่อ, พวง. วิ. โคปียตีติ โคจฺฉโก, คุปฺ โคปเน, คุธฺ ปริเวธเน, ณฺวุ, ปสฺส ธสฺส วา โฉ, สํโยโค.
จิกิจฺฉก : (ปุ.) บุคคลผู้เยียวยา, บุคคลผู้รักษา โรค, คนพยาบาล, หมอ, แพทย์ นาย แพทย์. กิตฺ โรคาปนยเน. ฉ ปัจ และ ณฺวุ ปัจ. เทว๎ภาวะ กิ แปลง กิ เป็น จิ แปลง ตฺ เป็น จฺ
เฉก : (วิ.) มีฝีมือ, ฉลาด, ชำนาญ, เฉียบแหลม. ฉิทิ เทฺวธากรเณ, อ. แปลว่าเชื่อง, โง่, เขลา ก็มี. ส. เฉก, เฉกฺร.
ชิคุจฺฉก : ค. ผู้ติเตียน, ผู้รังเกียจ, ผู้ไม่พอใจ
ตจฺฉก : (ปุ.) ช่างไม้, ช่างถาก, ช่างไส. ยุ ปัจ.
ตรุณวจฺฉก : (ปุ.) โคลูกอ่อน.
ติกิจฺฉก : (วิ.) ผู้เยียวยา, ผู้รักษา, ผู้พยาบาล.
นิลญจก นิลญฉก : (ปุ.) คมผู้หมายลง, คน ประทับตา, คนผู้ทำรูป, คนผู้ทำรูปสัตว์. นิปุพฺโพ, ลญจฺ ลญฉฺ ลกฺขเณ, อ, สกตฺเถ โก.
นิลฺลญฺฉก : ค. ผู้ตอน
ปฏิจฺฉก : ค. ผู้รับ
ปริปุจฺฉก : ค. ผู้ถาม, ผู้ไต่สวน
ปาสาณมจฺฉก : ป. ปลากา, ปลาสลาด, แมวน้ำ
ปุจฺฉก : ค. ผู้ถาม
ลญฺฉก : ค. ผู้ทำเครื่องหมาย, ผู้ประทับตรา
สมฺปฏิจฺฉก : ค. ผู้รับ
อิจฺฉก : ค. ใคร่, ปรารถนา, ต้องการ
อุปกจฺฉก : นป. รักแร้, หลุม, บ่อ
จิตฺตา : (อิต.) จิตตา ชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่ ๑๔ ใน ๒๗ กลุ่ม มี ๑ ดวง, ดาวตาจระเข้. วิ. ตจฺฉกสทิสตฺตา วิจิตฺตํ, ผลํ ททาตีติ จิตฺตา.
ปุจฺฉิตุ : ป. ดู ปุจฉก