Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: .

ETipitaka Pali-Thai Dict : , 115 found, display 1-50
  1. : (ไตรลิงค์) หก. แจกรูปเหมือน ปญฺจ.
  2. นวุติ : ค. เก้าสิบหก
  3. วกุฏิกา : อิต. กระท่อมผี, ที่เก็บศพ
  4. วสีส : (นปุ.) กระโหลกผี. ส. ศวศีรฺษ.
  5. วาลาต : นป. ถ่านไฟจากฟืนเผาศพ
  6. วิกลฺยาณ : นป. ความงามแห่งผิว
  7. วิโรค : ป. โรคผิวหนัง
  8. วิวณฺณ : ป. ผิวพรรณ, สีของผิว
  9. สหสฺส : นป. หกพัน
  10. กิจฺ : (วิ.) ลำบาก, ฝืดเคือง, ทุกข์, ยาก, ทุกข์ยาก.
  11. กิจฺติ : ก. ยาก, ลำบาก, ทุกข์, ขัดสน
  12. กูฏวินิจฺยิกถา : อิต. คำวินิจัยที่ไม่ถูกต้อง, ถ้อยคำเท็จ
  13. จิกิจฺติ : ก. คิด, ใคร่ครวญ, พิจารณา, ตั้งใจ, มุ่งหมาย; เยียวยา, รักษา
  14. : (ปุ.) คนใช้, คนรับใช้. ุ หีนเทเนสุ, อ, ทีโฆ.
  15. ติกิจฺติ : ก. เยียวยา, รักษา, บำบัดโรค
  16. ติณฺณกถงฺกถ, ติณฺณวิจิกิจฺ : ค. ผู้มีความสงสัยอันข้ามพ้นแล้ว, ผู้ข้ามความสงสัยแล้ว, ผู้หมดความสงสัยแล้ว
  17. เตกิจฺ : ค. อันแก้ไขได้, ซึ่งพอจะรักษาได้, ผู้ควรเยียวยา
  18. นิจฺรณ : นป. การปล่อยออก, การซ่านออก, การฟุ้งไป, การเปล่ง, การช่วยให้มีอิสระ
  19. นิจฺรติ : ก. ปล่อยออก, สลัดออก, ซ่านออก, เปล่งออก, ฟุ้งไป, ออกจาก
  20. ปเวจฺติ : ก. ให้; หลั่งไหล
  21. วิจิกิจฺติ : ก. สงสัย
  22. อเตกิจฺ : ค. แก้ไขไม่ได้, เยียวยาไม่ได้
  23. อนุปเวจฺติ : ก. โปรยปราย, เพิ่มให้, สละ
  24. กฏจฺุภิกฺขามตฺตทาน : (นปุ.) การให้ซึ่งวัตถุ มีภิกษาทัพพีหนึ่งเป็นประมาณ. เป็น ทุ ตัป. มี วิเสสนบุพ. กับ., . ตุล. และ วิเสสนปุพ. กัม. เป็นท้อง. คำว่าหนึ่งเป็น คำเหน็บเข้ามา ไม่ใช่เอก ศัพท์.
  25. กรุณาเวคสมุสฺสาหิตมานาส : (วิ.) ผู้มีันทะ มีในใจอันกำลังแห่งกรุณาอันให้อุตสาหะ พร้อมแล้ว. เป็น วิเสสนบุพ. กัม. มี ณ ปัจ. ราคาทิตัท. ส ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. . ตัป. และ ต. ตัป. เป็นภายใน.
  26. กายจลนสีสุกฺขิปนภมุกวิการาทิ : (วิ.) มีอัน ไหวแห่งกายและอันยกขึ้นซึ่งศรีษะและอัน กระทำต่างแห่งคิ้ว (การยักคิ้ว) เป็นต้น, มีอันกระดิกซึ่งกาย และอันสั่นซึ่งศรีษะ และอันยักซึ่งคิ้วเป็นต้น. เป็น . ตุล. มี . ตัป. ทุ. ตัป. และ อ. ทวัน. เป็นท้อง.
  27. กายทุจฺจริตาทิปเวสนนิวารณตฺถาจาร : (วิ.) ผู้มีอาจาระอันเกียดกันเสีย ซึ่งความเข้าไปแห่งความประพฤติชั่วมีความประพฤติชั่ว ด้วยกายเป็นต้นเป็นประโยชน์. เป็น . ตุล. มี ต. ตัป. . ตุล, . ตัป. ทุ. ตัป. และ . ตุล. เป็นท้อง.
  28. เกลาสกูฏปฏิภาค : (วิ.) มีส่วนเปรียบด้วยยอด แห่งภูเขาชื่อว่าไกลาส มี วิ. ดังนี้. สัมภาวนปุพฺ กัมฺ เกลาโส อิติ ปพฺพโต เกลาสปพฺพโต. . ตัป. เกลาสปพฺพตสฺส กุโฏ เกลาสกูโฏ. . ภินน. พหุพ. เกลาสกูเฏน ปฏิภาโค เยน โส เกลาสกูฏปฏิภาโค (วรวารโณ).
  29. ขนฺธธาตุอายตนาทิเภท : (วิ.) อันต่างด้วย ธรรมมีขันธ์และธาตุและอายตนะเป็นต้น. เป็น ต.ตัป. มี ส. ทวัน. และ . ตลุ เป็นท้อง.
  30. ขาทิตปีตนจฺจคีตวาทิตาทิ : (วิ.) มีวัตถุอันบุคคลเคี้ยวกินแล้วและวัตถุ (น้ำ) อันบุคคล ดื่มแล้วและเครื่องดนตรีมีอันฟ้อนและอันขับและอันประโคม เป็นต้น. เป็น อ. ทวัน. มี อ. ทวัน. และ . ตุล. เป็น ภายใน.
  31. คนฺธมาลาทิหตฺถ : (วิ.) ผู้มีสักการะมีของหอม และดอกไม้เป็นต้นในมือ. เป็น ภินนา. พหุพ. มี อ.ทวัน. และ . ตุล. เป็นภายใน.
  32. คนฺธสาลิตณฺฑุลภตฺต : (นปุ.) ภัตแห่งข้าวสาร แห่งข้าวสาลีมีกลิ่นหอม. เป็น . ตัป. มี ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. วิเสสนปุพ. กัม. และ . ตัป. เป็นภายใน.
  33. ฆรสปฺปชาติก : (วิ.) ผู้มีชาติแห่งงูผู้อาศัยซึ่ง เรือน เป็น อิก ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. มี ทุ. ตัป. และ . ตัป. เป็น ภายใน. ผู้ประกอบด้วย ชาติแห่งงูในเรือน เป็น ณิก ปัจ. ตรัต๎ยา- ทิตัท. มี ส. ตัป. และ ต.ตัป. เป็น ภายใน
  34. จตุจตฺตาฬีสโกฏิวิภว : (วิ.) ผู้มีโภคะอันบุคคล พึงเสวยมีโกฏิสี่สิบสี่เป็นประมาณ เป็น . ตุล. มี อ. ทิคุ. และ . ตุล. เป็นท้อง.
  35. จตุราสีติโยชนสหสฺสคมฺภีร : (วิ.) อันลึกสิ้นพ้น แห่งโยชน์แปดสิบสี่, มีพันแห่งโยชน์แปด สิบสี่เป็นส่วนลึก, ลึกแปดหมื่นสี่พันโยชน์. เป็น . ตุล มี .ตัป และ ส.ทิคู. เป็น ท้อง มีลึกมีพันแห่งโยชน์แปดสิบสี่เป็น ประมาณ ตั้ง วิ. เพิ่ม .ตุล ต่อจาก ส.ทิคุ อีก ๑ สมาส.
  36. จนฺท : (ปุ.) จันทะ ชื่อเทพบุตร, พระจันทร์, ดวงจันทร์, เดือน, ดวงเดือน, วิ. จนฺทยติ สีตคุณสมฺปตฺติยา อตฺตโน ปภาย สตฺตานํ ปริฬาหํ วูปสเมนฺโต สุขํ อุปฺปาเทตีติ จนฺโท. อถวา, จนฺทติ ทิปฺปติ สิริยาวิโรจตีติ จนฺโท. จทิ หิฬาทนทิตฺตีสุ, โท, นิคฺคหิตาค- โม, ทโลโป. อัฏฐกถาว่ามาจาก นฺทศัพท์ วิ. นฺทํ ชเนตีติ จนฺโท แปลง เป็น จ. รูปฯ๖๕๗ ลง ก ปัจ. ลบ ก. ส. จนฺท จนฺทฺร.
  37. จิกิจฺ : (ปุ.) บุคคลผู้เยียวยา, บุคคลผู้รักษา โรค, คนพยาบาล, หมอ, แพทย์ นาย แพทย์. กิตฺ โรคาปนยเน. ปัจ และ ณฺวุ ปัจ. เทว๎ภาวะ กิ แปลง กิ เป็น จิ แปลง ตฺ เป็น จฺ
  38. เจติยงฺคณสมฺมชฺชนคนฺธมาลาทิกิจฺจ : (นปุ.) กิจ มีอันกวาดซึ่งลานแห่งเจดีย์และอันบูชาด้วย วัตถุมีของหอมและระเบียบเป็นต้น เป็น วิเสสนบุพ. กัม. มี . ตัป., ส. ทวัน., . ตุล., . ตัป., ส. ทวัน,และ.ตุล.เป็นภายใน
  39. กฺก : (วิ.) มีปริมาณหก วิ. ปริมาณานิ อสฺสาติ กฺกํ. ก ปัจ. สังขยาตัท.
  40. กฺกณฺณ : (ปุ.) มนต์มีมุมหก คือการปรึกษากัน สามคน ได้ยินกันหกหู. วิ. ติณฺณํ ชนานํ วิสยภูโต โส มนฺโต กฺกณฺโณ นาม. กณฺณา เอตฺถาติ กฺกณฺโณ. มนฺต แปลว่า การปรึกษา. กฺขตฺตุ (อัพ. นิบาต) หกครั้ง, หกคราว, หก หน, สิ้นหกครั้ง,ฯลฯ. ดู จตุกฺขตฺตุ ประกอบ
  41. กลก คลก : (ปุ.) แพะ วิ. ินฺทนฺโต คจฺตีติ กลโก คลโก วา. มาจาก โ ธาตุ ในความตัด อ ปัจ. กล, คล มาจาก คมฺ ธาตุ อ ปัจ. อภิฯ ลง ณ ปัจ. แปลง ม เป็น ล ศัพท์ต้น แปลง ค เป็น ก ลง ก สกัด. ส. ค.
  42. ชฺช : (ปุ.) ัชชะ ชื่อเสียงดนตรีอย่างที่ ๓ ใน ๗ อย่าง เกิดจากหกส่วนคือ จมูก ปาก อก เพดาน ลิ้น และฟันหรือคอ เป็นเสียง เหมือนนกยูงร้อง วิ. หิ ชาโต ชฺโช. +ชนฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ลบที่สุดธาตุ แปลง ช เป็น ชฺช.
  43. ตฺตึสโยชนปริมณฺฑล : (วิ.) มีปริมณฑลมี โยชน์สามสิบหกเป็นประมาณ เป็น . ตุล. มี อ. ทิคุ. และ . ตุล เป็นท้อง.
  44. ปท ปฺปท : (ปุ.) สัตว์มีเท้าหก, ผึ้ง, แมลงภู่. วิ. ปทานิ อสฺสาติ ปโท ปฺปโท วา.
  45. ปฺปญจวาจา : (อิต.) วาจาหกหรือห้า, วาจาห้า หรือหก, คำพูดห้าหกคำ. วิ วา ปญฺจ วา วาจา ปฺปญฺจวาจา. เป็น ปฐมาวิภัตต – ยันตพหุพ. รูปฯ ๓๔๑.
  46. ลายตน ฬายตน : (นปุ.) อายตนะหก. + อายตน ลฺ อาคม ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ.
  47. ฬภิญฺญา : (อิต.) อภิญญาหก. +อภิญฺญา ลฺ อาคม แปลง ล เป็น ฬ.
  48. าค าคล : (ปุ.) แพะ, แกะ. บทหน้า คมฺ ธาตุ อปัจ. ลบ ม ศัพท์หลังไม่ลบ แปลง ม เป็น ล ทีฆะ อ ที่ . ส. าค.
  49. ชยสุมนาลตฺตกปาฏลวณฺณ : (วิ.) มีสีเพียง ว่าสีแห่งดอกชัยพฤกษ์และสีครั่งและ ดอกแค. เป็น . อุปมาพหุพ. มี อ.ทวัน. เป็นท้อง.
  50. ชลปถถลปถาทิ : (วิ.) มีทางในน้ำและทางบน บกเป็นต้น. เป็น . ตุล. มี ส.ตัป, ส.ตัป. และ อ.ทวัน. เป็นท้อง.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-115

(0.0242 sec)