Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ชนฺ , then ชน, ชนฺ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ชนฺ, 375 found, display 1-50
  1. ชนฺตาฆร : (นปุ.) เรือนเป็นที่รักษาซึ่งชน ผู้ ผจญซึ่งไพรีคือโรค, เรือนไฟ โรงไฟ (ห้องสำหรับรมไฟเพื่อให้เหงื่อออก). วิ. ชนฺตา เอว ฆรํ ชนฺตาฆรํ.
  2. ชนฺตา : (อิต.) เรือนไฟ วิ. ชลติ เอตฺถาติ ชนฺตา. ชลฺ ทิตฺติยํ, อนฺโต, ลฺโลโป.
  3. ชนฺตุ : (ปุ.) สัตว์, สัตว์เกิด. วิ. ชายตีติ ชนฺตุ. ชนียเต กมฺมกิเลเสหีติ วา ชนฺตุ. ชายติ วา กมฺมกิเลเสหีติ ชนฺตุ. อรรถกถากุลาวก ชาดก ว่า ชนฺตูติ สตฺโต แปลว่า บุคคล คนดังคำในมหาฎีกามหาสุตตโสมชาดก ว่า ชนฺตูติ ปุคฺคโล.
  4. ชนฺตาคาร : ป., นป. เรือนไฟ
  5. ชนฺติ : อิต. การละ, การละทิ้ง, การเลิก
  6. ชนฺนุ : นป. ดู ชณฺณ
  7. ชนฺนุ ชนฺนุก : (นปุ.) เข่า, หัวเข่า. ดู ชณฺณุ.
  8. ชน : (ปุ.) สัตว์, คน, ชน ( ผู้ยังกุศลและอกุศล ให้เกิด ). วิ. กุสลากุสลํ ชเนตีติ ชโน. ชนฺ ชนเน, อ. ส. ชน.
  9. รช : (ปุ.) ระดูของหญิง, ประจำเดือนของหญิง, ระดู, ประจำเดือน. วิ. รติยา ชายตีติ รโช รติปุพฺโพ, ชนฺ, ปาตุภาเว, โร. ลบ ติ และ นฺ.
  10. ขญฺชน : (ปุ.) นกไส้, นกเป็ดน้ำ. วิ. ปสฺสนตานํ ขํ สุขํ ชเนตีติ ขญฺชโน. ขปุพฺโพ, ชนฺ ชนเน, อ.
  11. ขุทฺทชนฺตุ : ป. แมลง, ตัวแมลง
  12. กรช : (วิ.) เกิดในน้ำ, เกิดในกาย. วิ. กเร ชายตีติ กรโช. กรปุพฺโพ, ชนฺ ชนเน, กฺวิ. เกิดจากกระ คือน้ำสัมภวะของมารดาและ บิดา วิ. กรา สมฺภวา ชาโต กรโช.
  13. กิลญฺช : (ปุ.) เสื่อ, สาด, ลำแพน, เสื่อลำแพน, เสื่อหยาบ. กิลปุพฺโพ, ชนฺ ชนเน, กฺวิ, นิคฺคหิตาคโม.
  14. กุช : (ปุ.) ต้นไม้, กอไม้. วิ. กุโต ชาโตติ กุโช. กุปุพฺโพ, ชนฺ ชนเน, กฺวิ.
  15. ชณฺณุ ชณฺณุก : (นปุ.) เข่า, หัวเข่า. วิ. ชายติ คมน เมเตนาติ ชณฺณุ, ชนฺ ปาตุภาเว, ณุ. แปลง นฺ เป็น นฺน แล้วแปลงเป็น ณฺณ ศัพท์หลัง ก สกัด ใช้ ชนฺนุ เป็นส่วนมาก.
  16. ธี : (อิต.) ปรีชา, ปัญญา. วิ. ฌายตีติ ธี, เฌ จินฺตายํ, กฺวิ, ฌสฺส โธ, เอการสฺส อีกาโร. ธาเรตีติ วา ธี. ธา ธารเณ, สํขาเรสุ วิกาโร ชายติ เอตายาติ วา ธี, ชนฺ ชนเน, ชนสฺส ชา. แปลง ชา เป็น ธา แปลง อา ที่ ธา เป็น อี.
  17. ปุพฺพช : (ปุ.) บุคคลผู้เกิดก่อน, พี่. วิ. ปุพฺเพกาเล ชายตีติ ปุพฺพโช. ปุพฺพสทฺทุปทํ, ชนฺ ชนเน, กวิ.
  18. พีช : (นปุ.) เหตุ, มูลเหตุ, มูลเค้า, เมล็ด, ฟอง (ฟองไข่), นิมิตบุรุษ, นิมิตสตรี, องคชาต, น้ำสุกกะ, พันธุ์ไม้, ต้นไม้, พืช (สิ่งที่จะเป็นพันธุ์ต่อไป). วิเสสปุพฺโพ, ชนฺ ปาตุภาเว, โร. ลบ เสส แปลง วิ เป็น พิ ทีฆะ ลบ ที่สุดธาตุ และ รปัจจัย อภิฯ ลง กฺวิ ปัจ.
  19. สหช : (ปุ.) ชนผู้เกิดร่วมกัน พี่น้องชาย(ท้องเดียวกัน). วิ. สห ชาโต สหโช. สหปุพฺโพ, ชนฺ ปาตุภาเว, กฺวิ ส. สหช.
  20. องฺคชาต : (นปุ.) องค์กำเนิด, องคชาต ชื่อของลับของชายและหญิง, นิมิต เครื่องหมายเพศของชายและหญิง. ส่วนมากใช้เป็นชื่อของลับของชาย แต่ในพระไตรปิฎกใช้เรียกของลับทั้งชายและหญิง. วิ.องฺค สรีเร ชายตีติ องฺคชาต. องฺคปุพฺโพ, ชนฺ ชนเน, โต, ชนสฺส ชาอาเทโส (แปลงชนฺเป็นชา).
  21. อช : (ปุ.) แกะ, แพะ.วิ. อชตีติ อโช. อชฺคมเน, อ. น ชายตีติ วา อโช. นปุพฺโพ, ชนฺ ชนเน, อ, นฺโลโป. ส. อช.
  22. อนุช : (ปุ.) ชนผู้เกิดในภายหลัง, น้อง, น้องชายวิ.อนุ ปจฺฉาชาโต อนุโช. อนุปุพฺโพ, ชนฺ ชนเน, กฺวิ. รูปฯ ๕๗๐ ใช้ ปจฺฉาแทนอนุ.วิ.ปจฺฉาชาโต อนุโช.ในคำประพันธ์ไทยตัดอออกเป็นนุช (นุต)ใช้ในความหมายว่าน้องน้องสาว หรือหญิงคู่รัก.ส. อนุช.
  23. โอช : (วิ.) รุ่งเรือง, สว่าง, ส่องสว่าง, สวยงาม, กระจ่าง, ขาว, มีกำลัง, อร่อย, ดี (รส...), โอชฺ ทิตฺติยํ, อ. อุปุพฺโพ วา, ชนฺ ชนเน.
  24. โสภญฺชน : (ปุ.) มะรุม วิ. โสภํ ชเนตีติ โภญฺชโน. โสภปุพฺโพ. ชนฺ ปาตุภเว, อ. โสภติ อญฺชนํ เอเตน เหตุภูเตนาติ วา โสภญฺชโน.
  25. กมฺมช : (วิ.) เกิดแต่กรรม วิ. กมฺมโต ชาโตติ กมฺมโช (วิปาโก). กมฺมโต ชาตาติ กมฺมชา (ปฏิสนฺธิ). กมฺมโต ชาตนฺติ มฺมชํ (รูปํ). ชนฺ ชนเน, กฺวิ, นฺโลโป. กมฺมโต ชาโต กมฺมโช. ต. ตัป., ปญ จ. ตัป.
  26. กิญฺชกฺข : (ปุ.) เกษร (ส่วนในของดอกไม้) วิ. กิสฺมึ (ในดอกไม้) ชายติ ชลตีติ วา กิญฺชกฺโข. กิปุพฺโพ ชนฺ ชนเน, ชลฺ ทิตฺติยํ วา, โข, นสฺส ลสฺส วา กการตฺตํ, นิคฺคหิ ตาคโม.
  27. ชจฺจ : (นปุ.) ความเกิด, ความบังเกิด, กำเนิด. ชาติ. ชนฺ ชนเน, โย. แปลง นฺ เป็น ตฺ รวมเป็น ตฺย แล้วแปลงเป็น จฺจ.
  28. ชฐ : (ปุ.) ท้อง, พุง, ขอด, ปม. ชนฺ ปาตุภาเว, โฐ, นฺโลโป.
  29. ชตฺตุ : (นปุ.) คอต่อ, คอหอย. ชนฺ ชนเน, ตุ, นสฺส โต. ชรฺ วโยหานิยํ วา. ตุ, รสฺส โต. รูปฯ ๖๖๑.
  30. ชตุ : (นปุ.) ครั่ง ใช้เรียกทั้งตัวครั่งและขี้ครั่ง โดยมากหมายเอาขี้ครั่งที่ใช้เป็นชื่อตัวครั่ง น่าจะ เป็น ปุ., ยาง, ยางไม้. ชนฺ ชนเน, ตุ, นฺโลโป. ส. ชตุ.
  31. ชนก : (วิ.) (กรรม) อันยังวิบากขันธ์และกัม- มัชรูปให้เกิด วิ. วิปากขนฺธกกมฺมชฺชรูปา- นิ ชเนตีติ. ชนกํ. ชนฺ ชนเน, ณฺวุ.
  32. ชเนตฺติก : (ปุ.) แปลเหมือน ชนก. ชนฺ ธาตุ เณ ปัจ. เหตุ ติ ปัจ. ซ้อน ตฺ ก สกัด.
  33. ชาต : (ปุ. นปุ.) ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ. ชนฺ ชนเน, โต. แปลง ชนฺ เป็น ชา กัจฯ ๕๘๕ ว่า แปลงพยัญชนะที่สุดธาตุ เป็น อา.
  34. ชาปิก : (วิ.) อันยัง...ให้เกิด. ชนฺ ธาตุ ณาเป ปัจ. และ อิก ปัจ.
  35. ชามาตุ : (ปุ.) ลูกเขย (ชายผู้เป็นสามีของลูก สาว) วิ. ปปุตฺเต ชเนตีติ ชามาตา (ผู้ยัง หลาน ท.ให้เกิด). ชนฺ ชนเน, ริตุ. แปลง อ ที ช เป็น อา อ อาคม (เพื่อให้ นฺ เป็น น) แปลง น เป็น มา ลบ ริ.
  36. ชายา : (อิต.) ภริยา, ภรรยา, เมีย, ชายา (ถรร- ยาของเจ้านาย). วิ. ชายติ ปุตฺโต อิมายาติ ชายา. ชนฺ ชนเน, โย, ชนสฺส ชา. ชยตีติ วา ชายา. ชิ ชเย, โย, ชิสฺส ชา.
  37. ตนุช : (ปุ.) ชนผู้เกิดแต่ตน. ลูก, ลูกชาย. วิ. ตนุมฺหา ชาโต ตนุโช. ตนุ+ชนฺ+กฺวิ ปัจ.
  38. ทณฺฑช : (วิ.) เกิดแต่อาชญา วิ. ทณฺฑโต ชาโต ทณฺฑโช. เป็นนามกิตก์ ทณฺฑ บท หน้า ชนฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ก็ได้ เป็น ปัญฺจ. ตัป. ก็ได้.
  39. ธาม : (นปุ.) ความเกิด. ชนฺ+ม ปัจ. แปลง ชนฺ เป็น ชา แปลง ชา เป็น ธา.
  40. นิย นิยก : (วิ.) เป็นของตน วิ. เนตพฺโพ นิโย. นิ นเย, โณฺย. ฎีกาอภิฯ ผู้เกิดในตน, ผู้เกิดแต่ตน, ผู้อาศัยตนเกิด. วิ. อตฺตนิ ชาโต นิโย. อตฺตนา ชาโต นิโย. อตฺตานํ นิสฺสาย ชายตีติ นิโย. แปลง ชนฺ เป็น ชา รัสสะ แปลง ช เป็น ย ศัพท์หลัง ก สกัด นิ มาจาก นิสฺสาย.
  41. มลยช : (ปุ.) แก่นจันทน์. วิ. มลยมฺหิ ชายตีติ มลยโช. มลยปุพฺโพ. ชนฺ ชนเน, กฺวิ.
  42. อคฺคช : (ปุ.) บุคคลผู้เกิดก่อน, ลูกคนหัวปี, ลูกคนแรก, พี่ชาย.อคฺค บทหน้า ชนฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ, ลบ นฺ. ส. อคฺรช.
  43. อตฺตชอตฺรช : (ปุ.) ชนผู้เกิดแต่ตน, ลูกของตน.วิ. อตฺตโน ชาโต อตฺตโช อตฺรโช วา.อภิฯ แปลง ต เป็น ตฺรลบ ตฺ สังโยค. รูปฯลง ตฺรณฺ ปัจ. รูปฯ ๕๗๐ ตั้ง วิ. เป็น ปญฺจ. ตัป. ช มาจาก ชนฺ ธาตุ กวิ ปัจ.
  44. อตฺตช อตฺรช : (ปุ.) ชนผู้เกิดแต่ตน, ลูกของตน. วิ. อตฺตโน ชาโต อตฺตโช อตฺรโช วา. อภิฯ แปลง ต เป็น ตฺร ลบ ตฺ สังโยค. รูปฯ ลง ตฺรณฺ ปัจ. รูปฯ ๕๗๐ ตั้ง วิ. เป็น ปญฺจ. ตัป. ช มาจาก ชนฺ ธาตุ กวิ ปัจ.
  45. ฉชฺช : (ปุ.) ฉัชชะ ชื่อเสียงดนตรีอย่างที่ ๓ ใน ๗ อย่าง เกิดจากหกส่วนคือ จมูก ปาก อก เพดาน ลิ้น และฟันหรือคอ เป็นเสียง เหมือนนกยูงร้อง วิ. ฉหิ ชาโต ฉชฺโช. ฉ+ชนฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ลบที่สุดธาตุ แปลง ช เป็น ชฺช.
  46. ชมฺพู ชมฺพุผล : (นปุ.) ผลชมพู่, ผลหว้า. ชมุ อทเน, พุ.ชนฺ ชนเน วา. นสฺส นิคฺคหิตํ. ส. ชมฺพุผล.
  47. นิกาย : (ปุ.) ที่อยู่, เรือน. วิ. นิจิยฺยเตฉาทิยเตตี นิกาโย. นิปุพโพ, จิ จเย, โย. แปลง จิ เป็น กาในเพราะยปัจ. ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, สภา, บริษัท, นิกาย ชื่อหมวด คัมภีร์ในพระสุตตันตปิฎก มี ๕ นิกาย คือ ๑. ทีฆนิกาย ๒. มัชฌิมนิกาย ๓. สังยุตตนิกาย ๔. อังคุตตรนิกาย และ ๕. ขุททกนิกาย ชื่อหมู่ชนผู้มีธรรมร่วม กันประพฤติธรรมร่วมกัน เช่น มหานิกาย. วิ. นิพฺพิเสเสน จิโนติ อวยเวติ นิกาโย. กุลํ สธมฺมีนํ สมานธมฺมานเมว ชนฺตูนํ คโณ นิกาโย นาม. ส. นิกาย.
  48. กานน : (นปุ.) ดง, ป่า, หมู่ไม้. วิ. เกน ชเลน อนนํ ปาน มสฺสาติ กานนํ. ฐิ ตมชฺฌนฺติก- สมเย กวติ สทฺทํ กโรติติ วา กานนํ. โกกิลม ยูราทโย กวนฺติ สทฺทายนฺติ กูชนฺติ เอตถาติ วา กานนํ. กุ สทฺเท, ยุ. ส. กานน.
  49. จตุรงฺคินิ : (วิ.) (กองทัพ) มีองค์สี่ ( ช้าง ม้ารถ และพลเดินเท้า ) วิ. จตฺตาริ องฺคานิ ยสฺส วิชฺชนฺติ สา จตุรงฺคินี อี ปัจ. อินี อิต.
  50. พฺยาภงฺคี : (อิต.) คาน ชื่อไม้สำหรับหาบสิ่งของต่างๆ วิ. วิวิธํ ภาร มาราญฺชนฺติ โอลมฺพนฺติ ยสฺสํ สา วฺ-ยาภงฺคี พฺยาภงฺคี วา.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-375

(0.0560 sec)