ชร : (วิ.) แก่, คร่ำคร่า, ชำรุด, ทรุดโทรม, เป็นไข้, เจ็บไข้, เป็นโรค. ชรฺ วโยหานิ – โรเคสุ, อ. รูปฯ ลง ณ ปัจ. ไม่ทีฆะ, ส. ชรณ, ชรินฺ.
ชรตา : (อิต.) ความแก่, ฯลฯ. วิ. ชิยฺยนฺติ วุทฺธา ภวนฺติ อสฺสนฺติ ชรา. ชรา เอว ชรตา. ตาปัจ. สกัด. ความเป็นแห่งคนแก่. ตาปัจ, ภาวตัท.
ชรกาล : (ปุ.) กาลแห่ง...เป็นคนแก่, ฯลฯ.
ชรติ : ก. แก่, คร่ำคร่า, เสื่อมคลาย
ชรสกฺก : ป. ท้าวสักกะแก่
กุญฺชร : (ปุ.) ช้าง, ช้างพลาย. วิ. กุญฺโช หนุ ทนฺโต จ, ตํโยคา กุญฺชโร. ร ปัจ. กํ ปฐ วึ ตทภิฆาเตน ชราเปตีติ วา กุญฺชโร. กุปุพฺโพ, ชรฺ วโยหานิมฺหิ, อ, อลุตฺตสมาโส อถวา, กุญฺเช คิริกูเฏ รมติ, โกญฺจนาทํ นทนฺโต วา จรตีติ วา กุญฺชโร. อภิฯ. รูปฯ ๓๘๕ วิ. กุญฺชา หนุ เอตสฺส สนฺตีติ กุญฺชโร. รปัจ. กัจฯ ๓๖๘ วิ. กุญฺชา ยสฺส อตฺถิ ตสฺมึ วา วิชฺชตีติ กุญฺชโร. รปัจ. กัจฯ ๓๖๘ วิ. กุญฺชา ยสฺส อตฺถิ ตสฺมึ วา วิชฺชตีติ กุญฺชโร. ร ปัจ. รูปฯ ๕๗๐ วิ. กุญฺเช รมตีติ กุญฺชโร. กุญฺชปุพฺโพ, รมุ กีฬายํ, กฺวิ. ส. กุญฺชร.
ชชฺชร : (วิ.) แก่มาก, เก่ามาก, คร่ำคร่า, ชำรุด, ทรุดโทรม. ชรฺ วโยนิมฺหิ, อ. เท๎วภาวะ ช ซ้อน ชฺ
ชิร ชีร : (วิ.) แก่, คร่ำคร่า, แก่คร่ำคร่า, ชำรุด, ทรุดโทรม, ยุ่ย, ย่อย. ชรฺ ธาตุ อ ปัจ.แปลง อ ที่ ช เป็น อี ศัพท์ต้นรัสสะ หรือตั้ง ชีรฺ พฺรูหเณ, อ.
นิชฺชร : (ปุ.) นิชชระ ชื่อของเทวดา, เทวดา (ผู้ไม่แก่). ส. นิรฺชร.
กปิญฺชร กปิญฺชล : (ปุ.) นกเอี้ยง, นกคับแค.
กุญฺชรสาลา : อิต. โรงช้าง
จาฏิปญฺชร : ป. กรงมีรูปดุจตุ่ม, กรงที่ทำคล้ายตุ่ม
ชราชชฺชร, - ชิณฺณ : ค. ซึ่งแก่หรือคร่ำคร่าเพราะชรา
ชีร : (นปุ.) มีดสำหรับใช้เครื่องบูชา, เมล็ด ผักชี, เมล็ดยี่หร่า. ส. ชีร.
ทุชชร : (ปุ.) ความคร่ำคร่ายาก, ฯลฯ.
ทุชฺชร : (วิ.) คราคร่ายาก, ให้คร่ำคร่ายาก.
เทวกุญฺชร : ค., ป. ผู้เป็นดุจกุญชรในหมู่เทพ, ผู้ประเสริฐในหมู่เทวดา; พระอินทร์
ปชฺชร : ป. ประชวร
ปญฺชร : ป. กรง
ปิญฺชร : ค. สีแดงเรื่อๆ , สีน้ำตาลปนเหลือง
ปุปฺผปญฺชร : ป. บัญชรดอกไม้, หน้าต่างที่ประดับดอกไม้
มญฺชร : ป. เครื่องประดับเท้า
มุนิกุญฺชร : (ปุ.) พระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐสุด, มุนิกุญชระ พระนามของพระพุทธเจ้า.
รถปญฺชร : ป. ตัวรถ, เรือนรถ
สีหปญฺชร : (นปุ.) หน้าต่างมีสันฐานดังกรงแห่ง สีหะ, หน้าต่าง, ช่องลม, สีหบัญชร. วิ. สีหรูปยุตฺตํ ปญฺชรํ สีหปญฺชรํ.
อรญฺชร : (ปุ.) อ่าง, กระถาง, ไห, ขวด, ตุ่มใหญ่.วิ. อรํสีฆํชราอสฺเสติอรญฺชโร.
อรญฺช, อรญฺชร : ป. ตุ่มใหญ่, อ่าง, ไห, ขวด
ชรคฺคว : (ปุ.) โคแก่, วัวแก่. ชร+โค แปลง โอ อว ซ้อน ค.
ชตฺตุ : (นปุ.) คอต่อ, คอหอย. ชนฺ ชนเน, ตุ, นสฺส โต. ชรฺ วโยหานิยํ วา. ตุ, รสฺส โต. รูปฯ ๖๖๑.
ชาร : (ปุ.) ชายที่รัก, ชายชู้. วิ. ชียนฺติ อเนนา ติ ชาโร. ชรฺ วโยหานิมฺหิ, โณ. อภิฯลง อ ปัจ. โมคฯ ขาทิกัณฑ์ ๔๔ วิ. ชีรยติ เอ- เตนาติ ชาโร. ฆณฺปัจ. ชาโร วุจฺจติ โจร – สามิโก. ส. ชาร.
ชิณฺณ ชิณฺณก : (วิ.) แก่, เก่า, คร่ำคร่า, ทรุด โทรม. ชรฺ วโยหานิมฺหิ โต, อิณฺณาเทโส. ศัพท์หลัง ก สกัด.
ชิยา : (อิต.) สาย, สายธนู. ชรฺ วโยหานิมฺหิ, อ, ชิยอาเทโส.
ชีรณ : (นปุ.) ความแก่, ฯลฯ ชรฺ ธาตุ ยุ ปัจ. แปลง อ เป็น อี. ส. ชีรฺณ.
ตชฺชารี : (อิต.) ตัชชารี ชื่อมาตรา นับเท่ากับ ๓๖ อณู. วิ. อณโว ฉตฺตึส ตชฺชารี นาม. ตํ ตํ อตฺตโน นิสฺสยํ มลินกรณวเสน ชราเปตีติ ตชฺชารี ชรฺ วโยหานิมฺหิ. ณี.