โคลกฺขณ : นป. ลักษณะแห่งโค, การทำนายโชคชะตาโดยดูลักษณะของโค
ทณฺฑลกฺขณ : นป. การทายลักษณะไม้พลอง, การทำนายโชคชะตาด้วยการดูลักษณะไม้พลอง
นกฺขตฺตปีฬน : นป. การเบียดเบียนแห่งนักษัตร, ชะตาตก, สิ้นชะตา
นกฺขตฺตโยค : ป. การประกอบดาวฤกษ์, การผูกดวงชะตา
เนมิตฺตก, เนมิตฺติก : ป. ผู้ทำนายโชคชะตา
ปวุตฺติ : ค. การเกิดขึ้น, ความเป็นไป, เหตุการณ์, โชคชะตา
พฺรหฺมลิขิต : (นปุ.) รอยเขียนของพระพรหม, พรหมลิขิต (เส้นชี้ชะตากรรมของคนซึ่งเป็นไปตามอำนาจของกรรม).
อสิลกฺขณ : นป. ลักษณะดาบ, เครื่องหมายบนดาบ, การทายโชคชะตาจากเครื่องหมายดาบ
คิริกณฺณี : (อิต.) อัญชันเขียว, ทุมแทง. วิ. คิริมฺหิ ชาตา กณฺณี คิริกณฺณี.
คิริมลฺลิกา : (อิต.) มวกเหล็ก, อัญชันเขียว, ทุมแทง. วิ. คิริมฺหิ ชาตา มลฺลิกา คิริมลฺลิกา.
โคลีมี : (อิต.) ว่านน้ำ วิ. คุณฺณํ โลมสมฺปาต- นฏฐาเน ชาตา โคโลมี. หญ้า แพรกขาว วิ. โคโลมชตฺตา โคโลมี, แฝกขาว, เปราะ ก็แปล.
นาคร : (ปุ.) ชนผู้เกิดในนคร, ชนผู้อยู่ในนคร, ชาวพระนคร, ชาวเมือง, ชาวกรุง. วิ. นคเร ชาตา นาครา. นคเร วสนฺตีติ วา นาครา.
นาคลตา : (อิต.) พลู วิ. นาคโลเก ชาตา ลตา นาคลตา. แตงหนู มะกอก ก็แปล. ส. นาคลตา ว่าต้นหมาก.
สีหล สีหฬ : (ปุ.) สีหล สีหฬ ชื่อชนบทพิเศษ ของอินเดีย คือประเทศสีหล ประเทศลังกา ปัจจุบันคือประเทศศรีลังกา. วิ. สีหํ ลนฺติ กณฺหนฺตีติ สีหลา. ปุพฺพปุริสา สีหลา, ตพฺพํเส ชาตา สพฺเพปิ เอตรหิ สีหลา นาม.
สึฆานิกา สิงฺหานิก : (อิต.) น้ำมูก. วิ. สึฆติ ปสวตีติ สึฆานิกา. สึฆฺ ปสเว, อานิโก. สึฆาเน วา ชาตา สึฆานิกา. ณิกปัจ.
เสทช : (ปุ.) สัตว์เกิดแต่เหงื่อไคล, สัตว์เกิดแต่น้ำเน่า เช่น หนอนเป็นต้น. เสทกรณตฺตา อุสฺมา เสโท, ตโต ชาตา เสทชา. เป็น สํเสทช บ้าง.
กปฺปิต : (วิ.) มีการตกแต่งเกิดแล้ว วิ. กปฺปา กปฺปนา สญฺชาตา ยสฺมึ โส กปฺปิโต. ชาตตฺเถ อิโต. อันแต่งแล้ว. กปฺปฺ ธาตุ ต ปัจ. อิ อาคม.
กมฺมช : (วิ.) เกิดแต่กรรม วิ. กมฺมโต ชาโตติ กมฺมโช (วิปาโก). กมฺมโต ชาตาติ กมฺมชา (ปฏิสนฺธิ). กมฺมโต ชาตนฺติ มฺมชํ (รูปํ). ชนฺ ชนเน, กฺวิ, นฺโลโป. กมฺมโต ชาโต กมฺมโช. ต. ตัป., ปญ จ. ตัป.
กาสิย : (นปุ.) ผ้าอันเกิดแล้วในแว่นแคว้น กาสี วิ. กาสีสุ ชนปเทสุ ชาตานิ กาสิยานิ. อิย ปัจ. เวสฯ ๓๕๗. กาสุ
กุจฺฉิต : (วิ.) ต่ำช้า, เลว, เลวทราม. วิ. กุจฺฉา สญฺชาตา อสเสติ กุจฺฉิโต. ศัพท์ กุจฺฉิต ที่แปลว่า อันบัณฑิตติเตียนแล้ว มาจาก กุสฺ อกฺโกเส, โต สสฺส จฺโฉ, อิอาคโม.
ชิฆจฺฉิต : (วิ.) ผู้มีความปรารถนาเพื่ออันกิน เกิดแล้ว วิ. ชิฆจฺฉา สญฺชาตา ยสฺส โส ชิฆจฺฉิโต ชิฆจฺฉา ศัพท์ ต ปัจ. อิ อาคม.
ตจสาร : (ปุ.) ต้นไม้มีเปลือกเป็นแก่น, ต้นไม้ มีเปลือกแข็ง, ต้นไผ่, ไม้ไผ่. วิ. ตโจ ว ตจโต อุพฺภวา สญฺชาตา จตุพฺภวา.
ตารกิต : (วิ.) มีดาวเกิดแล้ว, เกลื่อนกล่นแล้ว ด้วยดาว. วิ. ตารกา สญฺชาตา อสฺส ตารกิตํ ( คคนํ ). ตารกา+อิต ปัจ. โมค ฯ ณาทิ กัณฑ์ ๔๕.
นาคมาลิกา : (อิต.) ไม้กากะทิง, กถินพิมาน. วิ. นาคานํ มาลา, สญชาตา ยตฺร สา นาคมาลิกา.
ปพฺพชิต : (ปุ.) นักบวช ( ทุกประเภท ) , ภิกษุ, บรรพชิต. วิ. ปพฺพชฺชา สญฺชาตา อสฺสาติ ปพฺพชิโต. สญฺชาตตฺเถ อิโต. เสฏฺฐตฺตํ วชตีติ วา ปพฺพชิโต. วชฺ คมเน, โต, อิอา คโม.
ภุมฺมา : (อิต.) เทวดาผู้เกิดบนภาคพื้น วิ. ภูมิยํ ชาตาติ ภุมฺมา.
อหิวิชฺชา : อิต. วิชาหมองู คือการทายโชคชาตาโดยอาศัยงู