อาจมติ : ก. ชำระล้าง, ซัก, ชะ
ช : (วิ.) ผู้เกิด, ผู้บังเกิด, ผู้ยัง...ให้เกิด.
ฉชฺช : (ปุ.) ฉัชชะ ชื่อเสียงดนตรีอย่างที่ ๓ ใน ๗ อย่าง เกิดจากหกส่วนคือ จมูก ปาก อก เพดาน ลิ้น และฟันหรือคอ เป็นเสียง เหมือนนกยูงร้อง วิ. ฉหิ ชาโต ฉชฺโช. ฉ+ชนฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ลบที่สุดธาตุ แปลง ช เป็น ชฺช.
นิย นิยก : (วิ.) เป็นของตน วิ. เนตพฺโพ นิโย. นิ นเย, โณฺย. ฎีกาอภิฯ ผู้เกิดในตน, ผู้เกิดแต่ตน, ผู้อาศัยตนเกิด. วิ. อตฺตนิ ชาโต นิโย. อตฺตนา ชาโต นิโย. อตฺตานํ นิสฺสาย ชายตีติ นิโย. แปลง ชนฺ เป็น ชา รัสสะ แปลง ช เป็น ย ศัพท์หลัง ก สกัด นิ มาจาก นิสฺสาย.
กณเวร : (ปุ.) ชะบา, ต้นชะบา.
การิกา : (อิต.) การทำ, ความพอใจ, ปัชชะ (ฉันท์). วิ. กรณํ กาโร, โส เอว การิกา. ณิก ปัจ. สกัด.
ปฏิโมกฺข : ป. การชะแผล; การผูกมัด, เครื่องผูกมัด, ข้อผูกมัด
พิลงฺกภารทฺวาช : (ปุ.) พิลังกภารทวาชะ ชื่อ พราหมณ์.
ภารทฺวาช : (ปุ.) ภารทวาชะ ชื่อ ฤาษีผู้แต่งมนต์ ๑ ใน ๑๑ ท่าน.
อสฺสยุช : (ปุ.) อัสสยุชะชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่๑ ใน๒๗ กลุ่มมี๗ ดวงอภิฯ ว่ามี ๓ ดวง, ดาวม้า. อสฺส รูปโยคโต อสฺสยุโช. ส.อศฺวยุชอสฺวินี.
อาหารช : (วิ.) เกิดแต่อาหาร วิ. อาหารสฺมา ชาโตติ อาหารโช. กฺวิ ปัจ. ใน อรรถชาต. อาหารสฺมา ชาโต อาหารโช. ปัญจมีตัป. แปลง ชาต เป็น ช.
โอสธิกา : อิต. ยารักษาโรค, ยานอก, การบ่ม, การชะด้วยน้ำอุ่น
ชามาตุ : (ปุ.) ลูกเขย (ชายผู้เป็นสามีของลูก สาว) วิ. ปปุตฺเต ชเนตีติ ชามาตา (ผู้ยัง หลาน ท.ให้เกิด). ชนฺ ชนเน, ริตุ. แปลง อ ที ช เป็น อา อ อาคม (เพื่อให้ นฺ เป็น น) แปลง น เป็น มา ลบ ริ.
อตฺตชอตฺรช : (ปุ.) ชนผู้เกิดแต่ตน, ลูกของตน.วิ. อตฺตโน ชาโต อตฺตโช อตฺรโช วา.อภิฯ แปลง ต เป็น ตฺรลบ ตฺ สังโยค. รูปฯลง ตฺรณฺ ปัจ. รูปฯ ๕๗๐ ตั้ง วิ. เป็น ปญฺจ. ตัป. ช มาจาก ชนฺ ธาตุ กวิ ปัจ.
อตฺตช อตฺรช : (ปุ.) ชนผู้เกิดแต่ตน, ลูกของตน. วิ. อตฺตโน ชาโต อตฺตโช อตฺรโช วา. อภิฯ แปลง ต เป็น ตฺร ลบ ตฺ สังโยค. รูปฯ ลง ตฺรณฺ ปัจ. รูปฯ ๕๗๐ ตั้ง วิ. เป็น ปญฺจ. ตัป. ช มาจาก ชนฺ ธาตุ กวิ ปัจ.
ชานิ : (อิต.) ความเสื่อม, ความเสื่อมสิ้น, ความย่อยยับ ชิ ธาตุในความเสื่อม นา ปัจ. ประจำหมวดธาตุ อิ ปัจ. แปลง อิ ที่ ชิ เป็น อ ทีฆะ เป็น อา หรือ ลง นิ ปัจ. ไม่ต้องลง นาและ อิปัจ. อภิฯ ตั้ง หา จาเค, นิ. แปลง หา เป็น ชา. รูปฯ ๕๘๔ ตั้งหาธาตุ ติ ปัจ. แปลง ติ เป็น นิ.
เสทช : (ปุ.) สัตว์เกิดแต่เหงื่อไคล, สัตว์เกิดแต่น้ำเน่า เช่น หนอนเป็นต้น. เสทกรณตฺตา อุสฺมา เสโท, ตโต ชาตา เสทชา. เป็น สํเสทช บ้าง.
ชตุก : (ปุ.) ค้างคาว. ชตุ วิย ชตุกา. อุปมาเน โก. ส. ชตุก, ชตูกา.
ชตุกา : (อิต.) ค้างคาว. ชตุ วิย ชตุกา. อุปมาเน โก. ส. ชตุก, ชตูกา.
ชาตกี : (อิต.) สัตตบุษย์ ชาตบุษย์ ชื่อบัว, ต้น ผักชีล้อม.
ชาติย : (วิ.) เกิดแล้วโดยชาติ วิ. ชาติยา ชาโต ชาติโย. อิยปัจ. ชาตาทิตัท.
ชาตี : (อิต.) ชาตบุษย์ , มะลุลี, มะลิซ้อน.
ชานิปติ : (ปุ.) เมียและผัว วิ. ชายา จ ปติ จ ชานิปติ. ชายาศัพท์ เมื่อมี ปติ อยู่เบื้อง ปลาย แปลงชายาเป็น ชานิ. อภิฯ กัจฯ ๓๓๙ รูปฯ ๓๔๓. เป็น ชานิปตี โดยเป็น อ. มวัน. บ้าง.
ชาลิก : (ปุ.) คนดักปลาด้วยข่าย, คนฆ่าปลา ด้วยข่าย, ชาวประมง วิ. ชาเล นิยุตโตติ ชาลิโก. ชาเลน หนฺตีติ วา ชาลิโก. ณิก ปัจ. ส. ชาลิก.
ชาลี : (วิ.) มีข่าย วิ. ชาล มสฺส อตฺถีติ ชาลี. อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
ชคติปฺปเทส : ป. ประเทศแห่งแผ่นดิน, ถิ่นที่บนพื้นโลก, ภูมิประเทศ
ชคติรห : ป. ต้นไม้, สิ่งที่ขึ้นบนแผ่นดิน
ชตุกฺก : (วิ.) ชั่วช้า ?
ชตุมฏฺฐก : นป. สิ่งที่ปิดด้วยครั่ง, สิ่งที่ประทับครั่ง
ชตุมณิ : ป. ไฝ, ขี้แมลงวัน
ชเนตฺติก : (ปุ.) แปลเหมือน ชนก. ชนฺ ธาตุ เณ ปัจ. เหตุ ติ ปัจ. ซ้อน ตฺ ก สกัด.
ชเนติ : ก. ให้เกิด, ให้กำเนิด, ผลิตผล
ชเนตุ : ป. ผู้ให้เกิด, ผู้ผลิต
ชโนสภ : ป. ผู้นำหมู่ชน, ผู้เป็นใหญ่ในหมู่ชน
ชปติ, ชปฺปติ : ก. บ่น, พูดอุบอิบ, พูดพึมพำ; ท่องบ่น, สาธยาย
ชหิติกา : อิต. หญิงผู้ซึ่งถูกทอดทิ้ง
ชาชี : (ปุ.) ทหารกล้าศึก. ชชฺ ยุทฺเธ, ณี.
ชาตก : (นปุ.) ชาตกะ ชื่อองค์ที่ ๗ ของ นวัง – คสัตถุสาสน์ แสดงเรื่องที่เกิดแล้วในชาต ก่อนๆ ชาตปุพฺโพ, เก สทฺเท, อ.
ชาตกตฺถวณฺณนา : อิต. อรรถกถาชาดก, หนังสืออธิบายความชาดก
ชาตกภาณก : ค. ผู้เล่าชาดก
ชาตาปจฺจา : อิต. หญิงคลอดลูก
ชาติก : ค. มีชาติกำเนิด
ชาติกฺขย : ป. ความสิ้นไปแห่งการเกิด, ความสิ้นชาติ
ชาติกฺเขตฺต : นป. ที่เกิด, ภพที่เกิด
ชาติชรูปค : (วิ.) ผู้เข้าถึงชาติและชรา.
ชาติปภว : ป. ต้นเหตุแห่งชาติ, มูลเหตุที่ให้เกิด
ชาติภย : นป. ความกลัวต่อการเกิด, ความกลัวการเกิด