Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ชัด , then ชด, ชตฺ, ชัด .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ชัด, 44 found, display 1-44
  1. สมฺมุขา : (อัพ. นิบาต) ต่อหน้า, แจ้ง, ชัด, พร้อมหน้า, ในที่พร้อมหน้า, ในที่เฉพาะหน้า. นิบาตลงในอรรถสัตมี. รูปฯ ๒๘๒.
  2. อาวิ อาวี : (อัพ. นิบาต) ต่อหน้า, แจ้ง, ชัด, ที่แจ้ง, ในที่แจ้ง.
  3. กล : (ปุ.) เสียงไม่ชัด (แต่เป็นที่ชอบใจ), เสียงอ่อน, เสียงวังเวง, เสียงดังวังเวง (ดนตรี). กลฺ สทฺเท กลิเล วา, อ. อภิฯ เป็น ไตรลิงค์. ส. กล.
  4. กายวิญฺญตฺติ : อิต. กิริยาให้รู้ชัดด้วยการไหวกาย, การแสดงออกทางกาย, การบอกกล่าว, การชี้แจง
  5. กายวิญฺเญยฺย : ค. ซึ่งควรรู้ชัดด้วยกาย, ซึ่งสัมผัสทางกาย
  6. กาลวิปสฺสี : ค. ผู้มีปกติเห็นกาลเวลาอย่างแจ้งชัด
  7. จกฺขุกรณ, - กรณี : ค. ซึ่งกระทำปัญญาจักษุ, ผู้ทำให้เกิดปัญญาจักษุ, ผู้ทำให้เกิดความเห็นชัดด้วยใจ
  8. ทิฏฺฐิปฏิเวธ : ป. การแทงตลอดถึงทิฐิ, การรู้ชัดซึ่งทิฐิ
  9. ปฏิภาติ : ก. แจ่มแจ้ง, ปรากฏชัด (ขึ้นในใจ)
  10. ปฏิวิชฺฌติ : ก. แทงตลอด, รู้แจ้ง, เข้าใจชัด
  11. ปฏิวิชานาติ : ก. รู้เฉพาะ, เข้าใจชัด
  12. ปฏิวิทฺธ : กิต. (อันเขา) แทงตลอดแล้ว, รู้ชัดแล้ว
  13. ปฏิวิทิต : กิต. (อันเขา) รู้ชัดแล้ว, เข้าใจชัดแล้ว
  14. ปฏิสวิทิต : กิต. (อันเขา) ทราบชัดแล้ว, เข้าใจซึ้งแล้ว, รู้แล้ว, เสวย (เวทนา) แล้ว
  15. ปฏิสเวที : ค. ผู้ทราบชัด, ผู้รู้สึก, ผู้เสวย (เวทนา), ผู้ได้รับ (สุขหรือทุกข์)
  16. ปฏิสเวเทติ : ก. ทราบชัด, รู้สึก, เสวย (เวทนา), ได้รับ (สุขหรือทุกข์)
  17. ปทีเปติ : ก. ส่อง, ส่งแสง, จุด (ประทีป), แสดง, อธิบาย, ชี้ชัด
  18. ปราเภตฺวา : อ. พิจารณาดูแล้ว, พิจารณาเห็นชัด, รู้ชัดเจน (ดุจผ่าหัวใจออกดู) แล้ว
  19. ปากาสิย : ค. ซึ่งปรากฏ, เห็นชัด, แจ่มแจ้ง
  20. วิภูต : กิต. เป็นแจ้งแล้ว, เด่นชัด
  21. สมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่น, ความตั้งใจมั่น, ความตั้งมั่นด้วยดีแห่งจิต, ความตั้งมั่นด้วยดีในจิตในอารมณ์เดียว, ความไม่ส่ายไปแห่งจิต, ความสำรวมใจให้แน่วแน่, การตั้งจิตไว้ด้วยดีในอารมณ์เดียว, สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง ความที่จิตตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งโดยเฉพาะ ความที่จิตแน่วแน่อยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งเฉพาะ ความที่จิตเพ่งอยู่สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ. วิ. เอกาลมฺพเน สํ สุฏฐุ อาธานํ สมาธิ. สํปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. รูปฯ ๕๘๒ วิ. สมฺมา สมํ วา จิตฺตํ อาทธาตีติ สมาธิ. สมาธิใช้เป็นกุศลธรรมเป็นส่วนมากแต่ในที่บางแห่งท่านต้องการให้ชัดจึงเติมศัพท์ที่บ่งชัดไว้ข้างหน้าฝ่ายดี ท่านเติม สมฺมา เป็น สมฺมาสมาธิ ฝ่ายชั่ว ท่านเติม มิจฺฉา เป็นมิจฺฉาสมาธิ ดูคำ สติ ประกอบ. ส. สมาธิ.
  22. อญฺชติ : ก. ๑. ฉิบหาย ๒. แจ้งชัด ๓. ทา, ไล้, หยอด ๔. ไป, รัก, ใคร่, รักใคร่ ๕. ดึงออก, เหยียดออก
  23. อปากฏ : ค. ไม่ปรากฏ, ไม่มีชื่อเสียง, ไม่เด่นชัด
  24. อพฺยตฺต : (วิ.) ไม่ชัด, ไม่เฉียบแหลม.
  25. อภิสมาคจฺฉติ : ก. เข้าใจชัด, แทงตลอด
  26. อวฺยากต : ค. ซึ่งพระพุทธองค์ไม่ทรงพยากรณ์โดยประการอื่น คือ ไม่ทรงชี้ชัดลงไปว่าดีหรือชั่ว ; ที่เป็นกลางๆ
  27. อวสิต : ค. สำเร็จแล้ว, กำหนดรู้ชัดแล้ว
  28. อวิภูต : ค. ซึ่งไม่แจ้งชัด, อันไม่ปรากฏชัด, อันไม่เป็นจริง
  29. อเวกฺขติ : ก. เห็นชัด, พิจารณาดู, ตรวจดู
  30. อเวกฺขน : นป. การเห็นชัด, การดูด้วยปัญญา
  31. อาคท : (ปุ.) ถ้อยคำ (กล่าวชัด)อาบทหน้าคทฺธาตุในความกล่าวชัดเจนอ.ยุปัจ.
  32. อาคทน : (นปุ.) ถ้อยคำ (กล่าวชัด)อาบทหน้าคทฺธาตุในความกล่าวชัดเจนอ.ยุปัจ.
  33. อาชานน : นป. ความรู้, ความเข้าใจชัด
  34. อาทิสติ : ก. ชี้ชัด. แสดงชัด; ทายใจ, ดักใจ; อุทิศ, เจาะจง
  35. อาทิสฺส : กิต. ชี้ชัดแล้ว; ดักใจแล้ว, จำเพาะแล้ว, เจาะจงแล้ว
  36. อาทีปนีย : ค. อันเขาพึงแสดง, อันเขาพึงชี้ชัด; อันเขาพึงดักใจ
  37. อาวิภวติ : ก. แจ่มแจ้ง, ปรากฏชัด
  38. อาวิภาว : ป. ความปรากฏแจ่มแจ้ง, ความปรากฏชัด
  39. อุปทิสฺสติ : ก. อันเขาย่อมแสดง, อันเขาย่อมเห็น, ปรากฏชัด
  40. โอกฺขายติ : ก. ปรากฏชัด, แจ่มแจ้ง; ชอนเข้าไป
  41. โอกาสติ : ก. ปรากฏ, มองเห็นชัด
  42. ชตฺตุ : (นปุ.) คอต่อ, คอหอย. ชนฺ ชนเน, ตุ, นสฺส โต. ชรฺ วโยหานิยํ วา. ตุ, รสฺส โต. รูปฯ ๖๖๑.
  43. ยาวชตฺตนา : (อัพ. นิบาต) เพียงไรแต่กาลมีในวันนี้.
  44. โคลีมี : (อิต.) ว่านน้ำ วิ. คุณฺณํ โลมสมฺปาต- นฏฐาเน ชาตา โคโลมี. หญ้า แพรกขาว วิ. โคโลมชตฺตา โคโลมี, แฝกขาว, เปราะ ก็แปล.
  45. [1-44]

(0.0230 sec)