Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ชั่วอายุ, อายุ, ชั่ว , then ชว, ชวอาย, ชั่ว, ชั่วอายุ, อาย, อายุ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ชั่วอายุ, 310 found, display 1-50
  1. อายุ : (ปุ. นปุ.) ธรรมชาติเป็นเครื่องเจริญแห่งสัมปยุตธรรม, ความเป็นไป, ชีวิต, ชิวิติน-ทรีย์, ชนมพรรษา, ชันษา, อายุ(เวลาที่ดำรงชีวิตอยู่เวลาชั่วชีวิตของสิ่งนั้นๆ).วิ.เอนฺติสตฺตาเอเตนาติอายุ.อิคติยํ, ณุ.อถวา, อาปุพฺโพ, ยุมิสฺสนคตีสุ, อ. รูปฯ๖๓๕.ส. อายุษฺอายุสฺ.
  2. อายุกปฺป : ป. ชั่วอายุ, ชั่วชีวิต, กำหนดชั่วอายุหนึ่ง
  3. อายุ : นป. ชั่วอายุ, ตลอดชีวิต
  4. อายุเวท : ป. อายุรเวท, วิชาเกี่ยวกับการรักษาโรค
  5. อายุหน : (นปุ.) การประมวลมา, ความประมวลมา.อาปุพฺโพ, อูหฺปฐเน, อ, ยุ, รสฺโสยฺอาคโม.
  6. ปพฺพชฺชา : (อิต.) การเว้น, การละเว้น, การบวช, บรรพชา (การละเว้นจากการทำชั่ว ทุกอย่าง ). บรรพชานั้นต้องเว้นจากเมถุน ธรรม การบวชในศาสนาหรือลัทธิใดก็ตาม ถ้าเว้นจากกามกิจแล้วเรียกว่าบรรพชาได้. ความหมายของคำ ปพฺพชา นั้น คือการออกจากความเป็นฆราวาส ไปประพฤติตน เป็นนักบวช ต่อมามีพระบัญญัติให้ผู้ที่มี อายุยังไม่ครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์บวช เรียกผู้ที่ บวชนั้นว่า สามเณร สามเณรี จึงแยกการบวชออกเป็น ๒ คือ บวชเป็นภิกษุ เรียกว่า อุปสมบท บวชเป็น สามเณร สามเณรี ว่า บรรพชา. ปปุพฺโพ, วชฺชฺ วชฺชฺเน, อ, อิตฺถิยํ อา. กัจฯ ๖๓๘ รูปฯ ๖๔๔ วิ. ปฐเมว วชิตพฺพาติ ปพฺพชฺชา. ปฐมปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, โณฺย ภาวกมฺเมสุ. แปลง ชฺย เป็น ชฺช แปลง ว เป็น วฺว แล้วแปลงเป็น พฺพ. โมคฯ ลง ย ปัจ. ส. ปฺรวรชฺยา.
  7. กิณฺห : ค. ดำ, ชั่ว, เลว
  8. กุ : (วิ.) เล็ก, น้อย, นิดหน่อย, ง่าย, ชั่ว, เลว, เกลียด, น่าเกลียด.
  9. โกณฺฑ : (วิ.) เขลา, โฉด, ชั่ว, ด้วน. กุ กุจฺฉยํ, โฑ, ณฺสํโยโค.
  10. ขล : (วิ.) ไหว, พลาด, ผิด, ต่ำ, ต่ำช้า, เลว, เลวทราม, ชั่ว, หย่อน, หยาบ, หยาบคาย, กระด้าง. ขลฺ จลเน, อ. รวม, รวบรวม, สะสม. ขลฺ สญฺจินเน, อ. ชำระ, ล้าง, สะอาด. ขลฺ โสเจยฺเย, อ.
  11. ฉว : (วิ.) เลว, ชั่ว, ชั่วช้า, ลามก, ถ่อย, ร้าย, โหด, โหดร้าย, เสื่อม, เปียก, เยิ้ม, ชุ่ม, ตัด, บั่น, ทอน. ฉุ หีนตินฺตเฉทเนสุ, โณ.
  12. ทุกฺข : (วิ.) ยาก, ลำบาก, ชั่ว, เดือดร้อน, ไม่ สบาย, ทุกข์. ทุกฺข ตกฺกิริยายํ, อ.
  13. ทุฏฺฐุ : (อัพ. นิบาต) ติเตียน, นินทา, ชั่ว, ร้าย, น่าเกลียด. วิ ทุฏฺฐาติ ปวตฺตติ อสุนฺทรภาเวนาติ ทุฏฺฐุ. ทุปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อุ. ฏฺสํโยโค.
  14. นิกต : (วิ.) โกง, ชั่ว, ไม่ตรง. นิกนฺตตีติ นิกโต. นิปุพฺโพ, กนฺตฺ เฉทเน, อ. ลบ นฺสังโยค. ส. นิกฤต.
  15. นิกิฏฐ : ค. ต่ำช้า, เลวทราม, ชั่ว
  16. ลามก : ค. ลามก, ชั่ว, เลว, ต่ำช้า
  17. อธม : (วิ.) ผู้เกิดแล้วในส่วนเบื้องต่ำ, น่าชัง, ถ่อย, บกพร่อง, ชั่ว, เลว, ทราม, ต่ำช้า, ต่ำทราม, หย่อน. อธัม. วิ. อโธภาเค ชาโตอธโม. อิม ปัจ. ชาตาทิตัท. เอาโอ ที่อโธเป็น อ ลบ ภาค และ อิ ที่อิม ปัจ.โอสฺสอตฺตํ, ภาคโลโป, อิมปฺปจฺจเยอิโลโปจ.
  18. อปลกฺขณ : (วิ.) มีลักษณะไปปราศแล้ว, ชั่ว, เลวทราม, ต่ำช้า, อปลักษณ์. ส. อปลกฺษณ.
  19. ชีวิต : (นปุ.) ความเป็น, ความเป็นอยู่, อายุ, ชีวิต, ชีวัน, ชีวิตินทรีย์. ชีวฺ+ตปัจ.อิอาคม.
  20. ชีวิตินฺทฺรย ชีวินฺทฺริย : (นปุ.) ความเป็นอยู่, อินทรีย์ คือชีวิต, อายุ, ชีวิต, ชีวิตินทรีย์ ได้แก่ เจตสิกที่เป็นใหญ่ในการรักษานาม ธรรม.
  21. ชว : (วิ.) รับ, เร่ง, ด่วน, แล่นไป, ว่องไว, เชาว์. ส. ชว.
  22. อาย : (ปุ.) กำไร(ผลที่เกิดจาการลงทุน). อยฺคมเน, โณ, ส.อาย.
  23. ทุฎฺฐุลฺล : (วิ.) ชั่ว, ร้าย, ลามก, หยาบ, ชั่ว หยาบ, หยาบช้า, ชั่วช้า, ตลกคะนอง. วิ. ทุฎฺฐุ นิสฺสิตํ ทุฎฺฐุลฺลํ. ทุฎฺฐุ ฐานํ วา ทุฏฺฐุลฺลํ. ล ปัจ. แปลงเป็น ลฺล นิสสิตตัท. รูปฯ ๓๖๘.
  24. ขณ : (ปุ.) ครู่, ครั้ง, คราว, สมัย, เมื่อ (ครั้ง คราว), นาที, ขณะ, กษณะ. วิ. สตฺตานํ อายุ ขียติ หายติ เอตฺถ กาเลติ ขโณ. ขี ขเย, ยุ. ขณฺ หึสายํ วา, อ. ส. กฺษณ.
  25. ฉพฺพสฺส : ค. มีปีหก, มีหกปี (อายุ)
  26. ทุคฺคติ : (อิต.) คติชั่ว วิ. ทุฎฺฐุ คติ ทุคฺคติ. ลบ ฎฺฐุ ซ้อน คฺ. คติอันบัณฑิตติเตียน วิ. กุจฺฉิตา คติ ทุคฺคติ. ลบ จฺฉิต แปลง กุ เป็น ทุ, การไปชั่ว, ความเป็นไปชั่ว, ภูมิเป็นที่ไป ชั่ว. ทุ+คติ ซ้อน คฺ. ที่เป็นที่ไปแห่งทุกข์, ที่เป็นที่ถึงซึ่งทุกข์. วิ. ทุกขสส คติ ทุคคติ. ลบ กขฺ ซ้อน ค. ภูมิเป็นที่ตั้งแห่งทุกข์ วิ. ทุกฺขสฺส คติ ปติฏฺฐา ทุคฺคติ, ทุคคติ (ภพชั่ว). ส. ทุรฺคติ.
  27. ยปนา : (อิต.) ความเป็นอยู่, ความเป็นไป, ความดำเนินไป, อายุ. ยปฺ วตฺตเน, ยุ.
  28. อายุรเวชฺช : (ปุ.) หมอผู้รักษาชีวิตวิ.อายุโรเวชฺโชอายุรเวชฺโช.หมอผู้เป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่ชีวิตวิ.อายุสฺโสเวชฺโชอายุร-เวชฺโช.ลบสฺสังโยคแปลงสเป็นรตามวิธีของสันสกฤต, อายุรแพทย์(หมอผู้รักษาชีวิตของคนไข้ด้วยการใช้ยา ). ส. อายุ-รไวทฺย.
  29. อนุชุ : (วิ.) ไม่มีความตรง, มิใช่ตรง, ไม่ใช่ตรง, คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด, ชั่ว.วิ.นตฺถิ อุชุตายสฺส โสอนุชุ.
  30. กกฺขล กกฺขฬ : (วิ.) ชั่ว, ร้าย, ชั่วร้าย, แข็ง กล้าแข็ง, กระด้าง, หยาบ, หยาบช้า, หยาบคาย, ทารุณ, สาหัส, รุนแรง, ขรุขระ. วิ. กิพฺพิสํ กโรตีติ กกฺขโล กกฺขโฬ วา. กิพฺ พิสปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ, กิพฺพิสโลโป, อิสฺส อตฺตํ, กรสฺส ขโร, รสฺส ลตฺตํ ฬตฺตํ วา, กฺสํโยโค. ส. กฐร.
  31. กณฺห : (วิ.) ชั่ว, ดำ, มืด, กฤษณะ (ดำ), เขียวคราม.
  32. ทุ : (อัพ. อุปสรรค) ชั่ว, ยาก, ลำบาก, เลว, ทราม, เสีย, น้อย. ที่ใช้ในภาษาไทย เมื่ออยู่หน้าอักษรต่ำ แปลง ทุ เป็น ทร ทุร อุ. ทรชน ทุรชน. ส. ทุ.
  33. ทุกฺกฎ : (นปุ.) กรรมอัน...ทำชั่วแล้ว, กรรม ชั่ว, การทำเสีย, ความชั่ว, บาป, ทุกกฎ ชื่ออาบัติกองที่ ๖ เป็นอาบัติเบา แม้จะ เป็นอาบัติเบา ภิกษุ-สามเณรล่วงบางข้อ ก็ทำให้ศรัทธาของพระพุทธศาสนิกชนตกไปได้ เช่น นุ่งห่มไม่เรียบร้อย พูดจาไม่สำรวม เป็นต้น พึงระวัง. ศัพท์เป็น ทุกฺกต แปลง ต เป็น ฏ.
  34. ทุกฺกต : (นปุ.) กรรมอัน...ทำชั่วแล้ว, การทำ ชั่ว, ฯลฯ. วิ. นินฺทิตํ กรณ มสฺส ทุกกตํ. คำแปลแรก ต ปัจ. กิริยากิตก์ คำแปล หลังๆ เป็น ต ปัจ. ลง ภาวะ.
  35. นิกิฏฺฐ : (วิ.) ชั่ว, ชั่วช้า, เลว, ต่ำ, ต่ำช้า, โหด, ถ่อย. นิปพฺโพ นินฺทายํ, กิฏ คติยํ, โฐ.
  36. ปทุฏ : (วิ.) ชั่ว, ชั่วช้า, เลว, เลวทราม.
  37. ปาป : ๑. นป. ความชั่ว, ความเลวทราม, ความไม่ดี; ๒. ค. ชั่ว, ร้าย, ไม่ดี, เป็นบาป
  38. พาล : (วิ.) ผู้ตัดประโยชน์ทั้งสองอันบัณฑิตนับพร้อมแล้วว่าประโยชน์ของตนและประโยชน์ของบุคคลอื่น, เขลา, โง่, เซอะ, พาล. วิ. เทฺว อตฺตตฺถปรตฺถสํขาเต อตฺเถลุนาตีติ พาโล. ทฺวิ+ลา ธาตุ ในความตัด อ ปัจ. แปลง ทฺวิ เป็น พา. อ่อน, ไร้เดียงสา, เล็ก. พลฺ ปาณเน, โณ แปลว่า ชั่ว, ร้าย, ดุ, ดุร้าย อีกด้วย.
  39. เอล เอฬ : (วิ.) ชั่ว, เลว.
  40. กฏน : นป. กรรมชั่ว, หญ้าคา, จาก
  41. กณฺหปฏิปทา : อิต. ปฏิปทาอันเลวทราม, ทางที่ชั่ว
  42. กณฺหวิปาก : ค. มีวิบากคือผลชั่ว
  43. กตน : นป. กรรมชั่ว, การทำบาป
  44. กตาคส : ค. ผู้ทำความชั่ว
  45. กปฺปกาล : ป. กาลที่สิ้นอายุของโลก
  46. กปฺปี : ค. ผู้จัดแจง; ผู้ปรารถนา; ผู้ตั้งอยู่ชั่วกัป
  47. กมฺมโสจน : นป. ความเศร้าใจในกรรมชั่ว
  48. กลิ : (ปุ.) ความพ่ายแพ้, โทษ, ความชั่ว, บาป. วิ. กลียตีติ กลิ. กลฺ สํขฺยาเณ, อิ.
  49. กลิคฺคห : ป. ผลชั่ว, ความพ่ายแพ้
  50. กฬุส : (นปุ.) ความชั่ว, ฯลฯ. ดู กลุส ประกอบ.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-310

(0.0780 sec)