ชาต : (ปุ. นปุ.) ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ. ชนฺ ชนเน, โต. แปลง ชนฺ เป็น ชา กัจฯ ๕๘๕ ว่า แปลงพยัญชนะที่สุดธาตุ เป็น อา.
ชาตเวท : (ปุ.) ไฟมีเปลวอันเกิดแล้วอันบุคคล พึงรู้, ไฟเครื่องประสมซึ่งเปลว, ไฟ, เปลว ไฟ. วิ. ชาเต อุปฺปนฺเน วินฺทติฌาปยตีติ ชาตเวโท. อนฺธกาเร ชาตํ วิชฺชมานํ วินฺทติ ลภติ ชานาติ วา เอเตนาติ วา ชาตเวโท. ชนนํ ชาตํ เวโท ปากโฏ ยสฺส วา โส ชาตเวโท.
ชาตตฺต : นป. ความเป็นแห่งผู้เกิดแล้ว, การเกิด
ชาตทิวส : ป. วันเกิด
ชาตรูปรชตปฏิคฺคหณ : (นปุ.) การรับทอง และเงิน.
ชาตสฺสร : ป., นป. สระที่เกิดเอง, สระธรรมชาติ
กปฺปิต : (วิ.) มีการตกแต่งเกิดแล้ว วิ. กปฺปา กปฺปนา สญฺชาตา ยสฺมึ โส กปฺปิโต. ชาตตฺเถ อิโต. อันแต่งแล้ว. กปฺปฺ ธาตุ ต ปัจ. อิ อาคม.
ปพฺพชิต : (ปุ.) นักบวช ( ทุกประเภท ) , ภิกษุ, บรรพชิต. วิ. ปพฺพชฺชา สญฺชาตา อสฺสาติ ปพฺพชิโต. สญฺชาตตฺเถ อิโต. เสฏฺฐตฺตํ วชตีติ วา ปพฺพชิโต. วชฺ คมเน, โต, อิอา คโม.
ปุเรชาต : (วิ.) เกิดแล้วในกาลก่อน, เกิดก่อน. ปุเร+ชาต.
ติรจฺฉานชาต : (ปุ.) สัตว์ดิรัจฉาน. ชาตสกัด.
กกฺการุชาต : (นปุ.) ดอกไม้สวรรค์ ?
กมฺมชาต : นป. สิ่งที่เกิดแต่การกระทำ
กสมฺพุชาต : ค. สกปรก, ไม่บริสุทธิ์, เลว
กสมฺพุชาต กสมฺพุกชาต : (วิ.) ผู้มีหยากเยื่อ เกิดแล้ว, ผู้เศร้าหมอง.
คนฺธชาต : นป. คันธชาติ, ของหอม
จตุชาต : ค. (ของหอม) ซึ่งเกิดแต่คันธชาติสี่, มีส่วนประกอบสี่อย่าง
ชาตสร ชาตสฺสร : (ปุ.) สระอันเกิดแล้ว วิ. ชาตํ อปจฺจํ เอติสฺสาติ ชาตาปจฺจา. ชาโต วา ปุตฺโต เอติสฺสาติ ชาตาปจฺจา.
ชาติ : (อิต.) มะลิ, ดอกมะลิ.
ชาติ (ตฺ) ถทฺธ : ค. ผู้กระด้างหรือเย่อหยิ่งเพราะชาติ
ชาตี : (อิต.) ชาตบุษย์ , มะลุลี, มะลิซ้อน.
ชาตุ : (วิ.) ผู้เกิด
ทฺวิชาต : (ปุ.) ชนผู้เกิดสองหน, พราหมณ์, สัตว์ผู้เกิดสองหน, นก, งู.
เทฺวฬฺหกชาต : ค. ผู้เกิดความสงสัย, ผู้มีความสงสัย
ปทชาต : นป. รอยเท้า
พหุชาต : ค. มีมาก, เกิดขึ้นมาก
พีชชาต : นป. ชนิดของพืช
สญฺชาต : ค. เกิดเอง
สุชาต : (วิ.) ผู้เกิดดี (ลูกผู้ดีมีสกุล), กำเนิดดี.
อจฺฉริยพฺภูตชาต : (วิ.) มีเหตุน่าอัศจรรย์ไม่เคยเป็นแล้วเกิดแล้ว, มีความอัศจรรย์ไม่เคยเป็นแล้วเกิดแล้ว, มีเหตุอันอัศจรรย์เกิดแล้ว.
อติชาตปุตฺต : (ปุ.) อติชาตบุตร (ลูกผู้เกิดมามีความรู้ความประพฤติดีสูงกว่าตระกูลพ่อแม่).
อนฺโตชาต : (ปุ.) ทาสเกิดในภายในแห่งเรือน, ทาสเกิดในเรือน, ทาสในเรือน.วิ.อนฺโตเคเหทาสิยากุจฺฉิสฺมึชาโตอนฺโตชาโต.
อนุชาตอนุชาตปุตฺต : (ปุ.) บุตรเสมอด้วยตระ-กูล, บุตรชั้นกลาง, อนุชาตบุตร (ผู้เกิดตามมาไม่ดีหรือเลวกว่าตระกูล).
อนุชาต อนุชาตปุตฺต : (ปุ.) บุตรเสมอด้วยตระ- กูล, บุตรชั้นกลาง, อนุชาตบุตร (ผู้เกิดตาม มา ไม่ดีหรือเลวกว่าตระกูล).
อภิชาตอภิชาตปุตฺต : (ปุ.) คนมีตระกูล, บุตรชั้นสูง, อภิชาตบุตร (ลูกผู้เกิดมามีความรู้ความสามารถและความประพฤติดีสูงกว่าตระกูล).
อภิชาต อภิชาตปุตฺต : (ปุ.) คนมีตระกูล, บุตร ชั้นสูง, อภิชาตบุตร (ลูกผู้เกิดมามีความรู้ ความสามารถและความประพฤติดีสูงกว่า ตระกูล).
อมาชาต : ค. ผู้เกิดในบ้าน, ทาสที่เกิดในเรือน
อวิชาต : ค. ไม่ได้คลอด, ไม่เคยมีลูก
เอวชาต : (วิ.) เกิดแล้วอย่างนี้.
โกทุมฺพร : (นปุ.) ผ้าเปลือกไม้. กุช+ตจ+ชาต+ อมฺพร. ลบ ตจ ชาต พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง ช เป็น ท อ เป็น อุ.
คิริกณฺณี : (อิต.) อัญชันเขียว, ทุมแทง. วิ. คิริมฺหิ ชาตา กณฺณี คิริกณฺณี.
คิริมลฺลิกา : (อิต.) มวกเหล็ก, อัญชันเขียว, ทุมแทง. วิ. คิริมฺหิ ชาตา มลฺลิกา คิริมลฺลิกา.
โคลีมี : (อิต.) ว่านน้ำ วิ. คุณฺณํ โลมสมฺปาต- นฏฐาเน ชาตา โคโลมี. หญ้า แพรกขาว วิ. โคโลมชตฺตา โคโลมี, แฝกขาว, เปราะ ก็แปล.
ถุโสทก : (นปุ.) น้ำส้ม วิ. ถุสฌต ชาต มทกํ ถุโสทกํ.
นาคร : (ปุ.) ชนผู้เกิดในนคร, ชนผู้อยู่ในนคร, ชาวพระนคร, ชาวเมือง, ชาวกรุง. วิ. นคเร ชาตา นาครา. นคเร วสนฺตีติ วา นาครา.
นาคลตา : (อิต.) พลู วิ. นาคโลเก ชาตา ลตา นาคลตา. แตงหนู มะกอก ก็แปล. ส. นาคลตา ว่าต้นหมาก.
สีหล สีหฬ : (ปุ.) สีหล สีหฬ ชื่อชนบทพิเศษ ของอินเดีย คือประเทศสีหล ประเทศลังกา ปัจจุบันคือประเทศศรีลังกา. วิ. สีหํ ลนฺติ กณฺหนฺตีติ สีหลา. ปุพฺพปุริสา สีหลา, ตพฺพํเส ชาตา สพฺเพปิ เอตรหิ สีหลา นาม.
สึฆานิกา สิงฺหานิก : (อิต.) น้ำมูก. วิ. สึฆติ ปสวตีติ สึฆานิกา. สึฆฺ ปสเว, อานิโก. สึฆาเน วา ชาตา สึฆานิกา. ณิกปัจ.
เสทช : (ปุ.) สัตว์เกิดแต่เหงื่อไคล, สัตว์เกิดแต่น้ำเน่า เช่น หนอนเป็นต้น. เสทกรณตฺตา อุสฺมา เสโท, ตโต ชาตา เสทชา. เป็น สํเสทช บ้าง.
อาหารช : (วิ.) เกิดแต่อาหาร วิ. อาหารสฺมา ชาโตติ อาหารโช. กฺวิ ปัจ. ใน อรรถชาต. อาหารสฺมา ชาโต อาหารโช. ปัญจมีตัป. แปลง ชาต เป็น ช.
กมฺมกรณ : (นปุ.) โทษชาตเป็นเครื่องทำซึ่ง กรรม, การทำซึ่งกรรม, การทำกรรม, การลงโทษ, กรรมกรณ์ (เครื่องสำหรับ ลงอาชญา). กรรมกรณ์ไทยใช้เป็นกิริยา ว่าลงโทษ. ส. กรฺมกรณ.