คหณ คหน : (วิ.) จับ, ยึด, ถือ, ถือเอา, กุม, เรียน, ชิด, ชัฏ, รก, รกชัฏ, รกเรี้ยว (รกมาก), ฟั่นเฝือ.
ฆน : (วิ.) ไม่ขาด, หนา, ชิด, หยาบ, แข็ง, ตัน, ทึบ, แท่งทึบ, แน่นอน, ปึก, แผ่น, ล่ำ, เป็นก้อน, เป็นกลุ่ม, เป็นกลุ่มเป็นก้อน, หมด, สิ้น. หนฺ พนฺธเน, อ, หสฺส, โฆ.
นิรนฺตร : (วิ.) มีระหว่างออกแล้ว, หาระหว่าง มิได้, ไม่มีระหว่าง, ไม่ขาด, ไม่ขาดสาย, ไม่เว้นว่าง, ติดต่อกัน, ติดต่อกันไป, ติดต่อกันตลอดไป, เสมอ, หนา, ชิด, หยาบ. ส. นิรนฺตร.
ชิต : ๑. นป. ความชนะ;
๒. ชนะแล้ว, มีชัยแล้ว, ปราบปรามได้แล้ว
กุฏุกุญฺจก : ค. ใกล้ชิด, กระชับ, แน่น
จุลฺลุปฏฺฐาก : ป. จุลลุปัฏฐาก, คนรับใช้ประจำตัว, คนรับใช้ใกล้ชิด
นจฺจาสนฺน : (วิ.) ไม่ใกล้นัก, ไม่ชิดนัก. น+ อติ+อาสนฺน. แปลง อติ เป็น จฺจ.
สนฺทจฺฉาย : (วิ.) มีเงาชิด, มีเงาไม่ขาด, ฯลฯ.
อนุปนิรส : ค. ไม่มีเหตุใกล้ชิด, ไม่มีความแน่วแน่
อปริโต : ค. แนบชิด, ถี่
อมฺห : (ปุ. อิต.) ฉัน, ข้า, กู, ฯลฯ.คำแทนตัวภิกษุแปลว่าอาตมภาพ, อาตมา, รุป.ลูกพูดกับพ่อแม่แปลว่าลูก, หนู.หญิงพูดกับคนใกล้ชิดหรือคุ้นเคยหรือ คนรักแปลว่าหนูชายพูดกับหญิงที่รักแปลว่าเรียม, พี่. อมฺหศัพท์เป็นคำแทนตัวผู้พูดบาลีไวยากรณ์เป็นบุรุษที่๓ไวยากรณ์ไทยเป็นบุรุษที่๑.
อสนฺถุต : ค. ไม่คุ้นเคย, ไม่เชยชิด
อาสีทติ : ก. นั่งใกล้, นั่งชิด; ดูถูก, ด่าว่า
อุปชฺฌาย : (ปุ.) อุปัชฌาย์, พระอุปัชฌาย์. วิ. มนสา อุเปจฺจ สิสฺสานํ หิเตสิตํ อุปฏฺฐ- เปตฺวา ฌายตีติ อุปชฺฌาโย (ผู้เพ่งด้วยใจ เข้าไปใกล้ชิด แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล แก่ศิษย์ ท.) พระเถระผู้ให้การอบรม, พระเถระผู้เป็นประธาน ในการอุปสมบท. อุปปุพฺโพ, เฌ จินฺตายํ, โณ. แปลง เอ เป็น อาย. ส. อุปธฺยาย.
อุปนิพนฺธน : นป. การเกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด, การรบเร้า
อุปวาส : (ปุ.) การเข้าไปอยู่ วิ. อุปวสนํ อุปวาโส. การอยู่เว้น (อด) อาหาร (ตั้งแต่ หลังเที่ยงไป) คือการจำศีล (รักษาศีล). วิ. อนฺเนน วชฺชิดโต วาโส อุปวาโส. ส. อุปวาส.
ชิตตฺต : ๑. นป. ความมีชัย, ความชนะ;
๒. ค. ผู้มีตนชนะแล้ว, ผู้ชนะตนแล้ว
สามนฺติ : (วิ.) ใก้ล, เคียง, ใกล้เคียง, ชิต, รอบ ๆ. วิ. สํคตํ อนฺตํ สามนฺตํ. สํคต+อนฺต ลบ คต แปลง นิคคหิตเป็น ม ทีฆะ อ ที่ ส. ส. สามนฺต.
อปราชิตปลฺลงฺก : (ปุ.) บัลลังก์อันใคร ๆ ชนะไม่ได้, บัลลังก์อันใคร ๆ แย่งชิงไม่ได้, อปราชิตบัลลังก์คือบัลลังก์ที่พระพุทธเจ้าประทับนั่งวันตรัสรู้.
กูชิต : นป., ค. เสียงนกร้อง; กึกก้องด้วยเสียงนกร้อง
คชฺชิต : (ปุ.) ช้างซับมัน. วิ. คชฺโช สญฺชาโต ยสฺส โส คชฺชิโต. อิต ปัจ.
ตณฺหามานทิฏฺฐิอิญฺชิต : (วิ.) (กิเลสชาต กิเลส ชาติ) อันบุคคลให้หวั่นไหวคือตัณหาและ มานะ และทิฏฐิ.
เตชิต : ค. ลับ, เสี้ยม, เหลา
นิกฺกุชฺชิต : ค. อัน...คว่ำแล้ว
นิกูชิต : ค. ซึ่งร้องเสียงแหลม, ซึ่งส่งเสียง
นิชฺชิต : ค. ซึ่งชนะ, ไม่แพ้
นิโยชิต : ค. ผู้แทน, ผู้ถูกส่งไป
ปพฺพชิต : (ปุ.) นักบวช ( ทุกประเภท ) , ภิกษุ, บรรพชิต. วิ. ปพฺพชฺชา สญฺชาตา อสฺสาติ ปพฺพชิโต. สญฺชาตตฺเถ อิโต. เสฏฺฐตฺตํ วชตีติ วา ปพฺพชิโต. วชฺ คมเน, โต, อิอา คโม.
ปพฺพชิตทิวส : (ปุ. นปุ.) วันแห่ง....บวชแล้ว.
ปพฺพาชิต : (ปุ.) การให้ออกไป, การขับไล่.
ปโยชิต : กิต. (อันเขา) ประกอบแล้ว, นำไปปฏิบัติแล้ว, กระตุ้นแล้ว, เร่งเร้าแล้ว, แนะนำแล้ว, เชื่อมต่อแล้ว
ปาชิต : ค. อันเขาขับไปแล้ว
ปิญฺชิต : ค. ซึ่งถูกระบายสี, ซึ่งป้ายสี
มรณภยตชฺชิต : (วิ.) ผู้อันภัยคือมรณะคุกคามแล้ว.
ลชฺชิตพฺพก : ค. ควรละอาย, น่าอาย
วชฺชิต : กิต. เว้นแล้ว
วลญฺชิต : กิต. สะกดรอยแล้ว, ค้นหารอย
สชฺชิต : กิต. ตระเตรียมแล้ว, จัดแจงแล้ว, ตกแต่งแล้ว
สมฺมิญฺชิต : (นปุ.) การคู้เข้า. สํปุพฺโพ, อิญฺชฺ กมฺปเน, โต, อิอาคโม.
อนิญฺชิต : ค. ไม่หวั่นไหว, ไม่เคลื่อน
อปชิต : นป. ความพ่ายแพ้, ความปราชัย
อปราชิต : ค. อันคนอื่นชนะไม่ได้แล้ว
อภินิกูชิต : ค. ร้องก้อง, เห่าก้องแล้ว
อารญฺชิต : ๑. นป. แผลเป็น, รอยตำหนิ, รอยขีด;
๒. กิต. ถูกแทงแล้ว, ถูกเจาะแล้ว
อิญฺชิต : (นปุ.) ความไหว, ฯลฯ. ต ปัจ. อิ อาคม.
อิญฺชิตตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งความไหว, ฯลฯ.
อินฺทคชฺชิต : นป. ฟ้าผ่า, ฟ้าร้อง
ปรา : (อัพ. อุปสรรค) เสื่อม, ฉิบหาย, กลับความคือนำหน้าธาตุแล้ว ทำให้ธาตุนั้นมีความกลับกันจากเดิม อุ. ชิต ชนะแล้ว ลง ปรา เป็น ปราชิต แพ้แล้ว เป็นต้น.