ชิต : ๑. นป. ความชนะ;
๒. ชนะแล้ว, มีชัยแล้ว, ปราบปรามได้แล้ว
ชิตตฺต : ๑. นป. ความมีชัย, ความชนะ;
๒. ค. ผู้มีตนชนะแล้ว, ผู้ชนะตนแล้ว
โชต : (วิ.) โพลง, รุ่งเรือง, ฯลฯ. ชุตฺ ทิตฺติยํ, โณ.
สามนฺติ : (วิ.) ใก้ล, เคียง, ใกล้เคียง, ชิต, รอบ ๆ. วิ. สํคตํ อนฺตํ สามนฺตํ. สํคต+อนฺต ลบ คต แปลง นิคคหิตเป็น ม ทีฆะ อ ที่ ส. ส. สามนฺต.
อปราชิตปลฺลงฺก : (ปุ.) บัลลังก์อันใคร ๆ ชนะไม่ได้, บัลลังก์อันใคร ๆ แย่งชิงไม่ได้, อปราชิตบัลลังก์คือบัลลังก์ที่พระพุทธเจ้าประทับนั่งวันตรัสรู้.
กูชิต : นป., ค. เสียงนกร้อง; กึกก้องด้วยเสียงนกร้อง
คชฺชิต : (ปุ.) ช้างซับมัน. วิ. คชฺโช สญฺชาโต ยสฺส โส คชฺชิโต. อิต ปัจ.
ชตุ : (นปุ.) ครั่ง ใช้เรียกทั้งตัวครั่งและขี้ครั่ง โดยมากหมายเอาขี้ครั่งที่ใช้เป็นชื่อตัวครั่ง น่าจะ เป็น ปุ., ยาง, ยางไม้. ชนฺ ชนเน, ตุ, นฺโลโป. ส. ชตุ.
ชิติ : (อิต.) ความชนะ, ความมีชัย. ชิ ชเย, ติ.
ชุติ : (อิต.) รัศมี, แสง, แสงสว่าง, ความรุ่งเรือง, ฯลฯ. ชุตฺ+อิ ปัจ.
ชูต : (ปุ. นปุ.) การเล่นการพนัน, การพนัน, สกา. วิ. ชวติ เถยฺยํ กโรติ เอเตนาติ ชูตํ. ชุ คติชวเน เถยฺเย วา, โต, ทีโฆ.
เชติ : ก. ชนะ, มีชัย
โชติ : (ปุ.) โชติ, ชื่อไฟชื่อ ๑ ใน ๑๘ ชื่อ, ไฟ.
ตณฺหามานทิฏฺฐิอิญฺชิต : (วิ.) (กิเลสชาต กิเลส ชาติ) อันบุคคลให้หวั่นไหวคือตัณหาและ มานะ และทิฏฐิ.
เตชิต : ค. ลับ, เสี้ยม, เหลา
นิกฺกุชฺชิต : ค. อัน...คว่ำแล้ว
นิกูชิต : ค. ซึ่งร้องเสียงแหลม, ซึ่งส่งเสียง
นิชฺชิต : ค. ซึ่งชนะ, ไม่แพ้
นิโยชิต : ค. ผู้แทน, ผู้ถูกส่งไป
ปพฺพชิต : (ปุ.) นักบวช ( ทุกประเภท ) , ภิกษุ, บรรพชิต. วิ. ปพฺพชฺชา สญฺชาตา อสฺสาติ ปพฺพชิโต. สญฺชาตตฺเถ อิโต. เสฏฺฐตฺตํ วชตีติ วา ปพฺพชิโต. วชฺ คมเน, โต, อิอา คโม.
ปพฺพชิตทิวส : (ปุ. นปุ.) วันแห่ง....บวชแล้ว.
ปพฺพาชิต : (ปุ.) การให้ออกไป, การขับไล่.
ปโยชิต : กิต. (อันเขา) ประกอบแล้ว, นำไปปฏิบัติแล้ว, กระตุ้นแล้ว, เร่งเร้าแล้ว, แนะนำแล้ว, เชื่อมต่อแล้ว
ปาชิต : ค. อันเขาขับไปแล้ว
ปิญฺชิต : ค. ซึ่งถูกระบายสี, ซึ่งป้ายสี
มรณภยตชฺชิต : (วิ.) ผู้อันภัยคือมรณะคุกคามแล้ว.
ลชฺชิตพฺพก : ค. ควรละอาย, น่าอาย
วชฺชิต : กิต. เว้นแล้ว
วลญฺชิต : กิต. สะกดรอยแล้ว, ค้นหารอย
สชฺชิต : กิต. ตระเตรียมแล้ว, จัดแจงแล้ว, ตกแต่งแล้ว
สมฺมิญฺชิต : (นปุ.) การคู้เข้า. สํปุพฺโพ, อิญฺชฺ กมฺปเน, โต, อิอาคโม.
อนิญฺชิต : ค. ไม่หวั่นไหว, ไม่เคลื่อน
อปชิต : นป. ความพ่ายแพ้, ความปราชัย
อปราชิต : ค. อันคนอื่นชนะไม่ได้แล้ว
อภินิกูชิต : ค. ร้องก้อง, เห่าก้องแล้ว
อารญฺชิต : ๑. นป. แผลเป็น, รอยตำหนิ, รอยขีด;
๒. กิต. ถูกแทงแล้ว, ถูกเจาะแล้ว
อิญฺชิต : (นปุ.) ความไหว, ฯลฯ. ต ปัจ. อิ อาคม.
อิญฺชิตตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งความไหว, ฯลฯ.
อินฺทคชฺชิต : นป. ฟ้าผ่า, ฟ้าร้อง
อุพฺเพชตุ, - เชตุ : ป. ผู้ตกใจกลัว, ผู้สะดุ้ง
ปรา : (อัพ. อุปสรรค) เสื่อม, ฉิบหาย, กลับความคือนำหน้าธาตุแล้ว ทำให้ธาตุนั้นมีความกลับกันจากเดิม อุ. ชิต ชนะแล้ว ลง ปรา เป็น ปราชิต แพ้แล้ว เป็นต้น.
ขชฺชูร : (ปุ.) อินทผลัม, ต้นแป้ง ก็ว่า กัจฯ๖๗0 วิ. ขชฺชิตพฺโพ ขาทิตฺพฺโพ วาติ ขชฺชูโร. รูปฯ ๖๖๔ วิ. ขาทิตํ อลนฺติ ขชฺชูโร. ขชฺชฺ ภกฺขเณ, อูโร. อภิฯ ลง อุร ปัจ. เป็น ขชฺชุร.
ชุณฺห : (วิ.) รุ่งเรือง, ฯลฯ ชุ ทิตฺติยํ, ณฺห. ชุตฺ ทิตฺติยํ วา, โห, ตสฺส โณ.
เถยฺยสวาสก : (ปุ.) คนลักเพศ. คนลักเพศ คือคนที่ปลอมบวชเป็นภิกษุหรือสามเณร หรือคนที่บวชเอาเอง หรือภิกษุสามเณร ที่ทำผิดวินัยถึงขาดจากความเป็นบรรชิต แต่ยังครองผ้ากาสาวพัตรอยู่.
ทิวสวลญฺช : (ปุ.) การใช้สอยในวันๆ, ค่าใช้ สอยในวันๆ, ค่าใช้จ่ายในวันๆ, รายจ่ายในวันๆ, รายจ่ายประจำวัน. วิ. ทิวเส ทิวเส วลญฺชิตพฺโพ ทิวสวลญฺโช. ทิวสทิสปุพฺโพ, วลชิ วลญฺชเน, อ. ลบ ทิวส ๑ ศัพท์
ปท : (นปุ.) ปทะ ชื่อของพระนิพพาน, พระ นิพพาน. วิ. อริเยหิ ปฏิปชฺชิตพฺพตฺตา คนฺตพฺพตฺตา ปทํ.
ปพฺพชฺชา : (อิต.) การเว้น, การละเว้น, การบวช, บรรพชา (การละเว้นจากการทำชั่ว ทุกอย่าง ). บรรพชานั้นต้องเว้นจากเมถุน ธรรม การบวชในศาสนาหรือลัทธิใดก็ตาม ถ้าเว้นจากกามกิจแล้วเรียกว่าบรรพชาได้. ความหมายของคำ ปพฺพชา นั้น คือการออกจากความเป็นฆราวาส ไปประพฤติตน เป็นนักบวช ต่อมามีพระบัญญัติให้ผู้ที่มี อายุยังไม่ครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์บวช เรียกผู้ที่ บวชนั้นว่า สามเณร สามเณรี จึงแยกการบวชออกเป็น ๒ คือ บวชเป็นภิกษุ เรียกว่า อุปสมบท บวชเป็น สามเณร สามเณรี ว่า บรรพชา. ปปุพฺโพ, วชฺชฺ วชฺชฺเน, อ, อิตฺถิยํ อา. กัจฯ ๖๓๘ รูปฯ ๖๔๔ วิ. ปฐเมว วชิตพฺพาติ ปพฺพชฺชา. ปฐมปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, โณฺย ภาวกมฺเมสุ. แปลง ชฺย เป็น ชฺช แปลง ว เป็น วฺว แล้วแปลงเป็น พฺพ. โมคฯ ลง ย ปัจ. ส. ปฺรวรชฺยา.
โภชฺช : (นปุ.) ของอัน...พึงกิน, ของควรบริโภค. วิ. ภุญฺ-ชิตพฺพนฺติ โภชฺชํ. ณฺย ปัจ.