ปฏิสายติ : ก. ลิ้มรส, ชิม, กิน
รสตณฺหา : อิต. ความอยากชิมรส
กิตฺติ : (วิ.) สรรเสริญ, ชม, เล่าลือ.
ทฺวชมหาสาล ทฺวิชมหาสาฬ : (ปุ.) พราหมณ์ มหาสาล วิ . มหนฺโต ธนสาโร ยสฺส โส มหาสาโล. แปลง ร เป้น ล. ทฺวิโช จ โส มหาสาโล จาติ ทฺวิชมหาสาโล. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ.
ทฺวิชมหาสาล : ป. พราหมณ์มหาศาล, คือพราหมณ์ผู้มีทรัพย์ที่เก็บไว้ ๘๐ โกฏิและสำหรับใช้สอย ๑๐ อัมพณะ
ราชมหามตฺต : ป. นายกรัฐมนตรี, มหาอำมาตย์ของพระราชา
กตฺถนา : (อิต.) การชม, การชมเชย, การยก ย่อง, การพรรณา, การอวด, ความชม, ฯลฯ. กตฺถฺ สิลาฆายํ, ยุ, อิตฺถิยํ อา.
กตฺถี : (วิ.) ชม, ชมเชย, ฯลฯ.
กิลิชฺชติ : ก. เปียก, ชุ่ม, (แผล)เป็นหนอง
กิลินฺน : (วิ.) เปียก, ชื้น, ชุ่ม, ซึม, เยิ้ม, หม่นหมอง. กิลิทฺ อทฺทภาเว, โต, อินฺนา เทโส, ทฺโลโป.
กิลิสฺสติ : ก. เปียก, ชุ่ม, เศร้าหมอง, ไม่บริสุทธิ์
กูวร : ค. สวยงาม, มีเสน่ห์, น่าชม
ฉว : (วิ.) เลว, ชั่ว, ชั่วช้า, ลามก, ถ่อย, ร้าย, โหด, โหดร้าย, เสื่อม, เปียก, เยิ้ม, ชุ่ม, ตัด, บั่น, ทอน. ฉุ หีนตินฺตเฉทเนสุ, โณ.
ชมฺพุนท ชมฺพูนท : (นปุ.)ชัมพุนทะ ชัมพูนทะ, ชัมพูนท ชมพูนท ชมพูนุท ชามพูนุท ชามพูนทะ, โชมโพนทะ ชื่อทองพิเศษ ๑ ใน ๔ อย่าง, ทอง, ทองคำ, ทองชมพุนุท (ทองที่เกิดแทบต้นหว้าเนื้อบริสุทธิ์). วิ. เทวรุกฺขภุตาย มหาชมฺพุยา ปติฏฺฐตฏฺฐาเน นที ชมฺพุนที, ตสฺสํ ปติเตหิ มหาคชปฺป – มาณานํ กุมฺภปฺปมาณานํ วา ผลานํ พีเชหิ ชาตํ สุวณฺณํ ชมฺพุนทํ ชมฺพูนทํ วา. ส. ชามพูนท.
ฐานิย : (วิ.) เป็นที่ตั้ง, เป็นฐานะ, ควรแก่ฐานะ, น่ารัก, น่าชม.
ติตฺต ติตฺตก : (วิ.) ชม, พอ, พอใจ, อิ่มใจ, อิ่มหนำ ( สำราญหรืออิ่มเต็มที่). ติปฺ ปีณเน, โต, ปสฺส โต อถวา, ติสฺ ติตฺติยํ โต, สสฺส โต. ศัพท์หลัง ก สกัด.
ติมิร ติมิล : (วิ.) ชื้น, ชุ่ม, เปียก. ติมุ อทฺทภาเว, อิโร. มืด, บอด. ติมุ กํขายํ, อิโร. ศัพท์ หลังแปลง ร เป็น ล.
เตมน : (วิ.) เปียก, ชื้น, ชุ่ม, เยิ้ม. ติมุ อทฺทภาเว, ยุ. ส. เตมน.
ถวน : (วิ.) ชม, ชมเชย, ยกย่อง, สรรเสริญ.
ถวนา : (อิต.) ความชม, ฯลฯ. ถุ อภิตฺถเว ยุ.
ถุติ : (อิต.) การชม, การชมเชย, การยกย่อง, การสรรเสริญ, ความชม, ฯลฯ, คำชม, ฯลฯ, ความชอบ, สดุดี. วิ. ถวนฺ ถุติ. ถุ อภิตฺถเว, ติ เป็น ปุ บ้าง. ส. สฺตุติ.
ถุติปาฐก : (ปุ.) บุคคลผู้กล่าวชมคุณ, บุคคลผู้ หมายเหตุความชอบของบุคคล, เจ้าหน้าที่ ผู้หมายเหตุความชอบของบุคคล.
โถม : (ปุ.) การชม,การชมเชย,การยกย่อง,การสรรเสริญ,ความชม,ฯลฯ,คำชม,ฯลฯ.โถมฺสิลาฆายํ,อ,ยุ.
โถมน : (นปุ.) การชม,การชมเชย,การยกย่อง,การสรรเสริญ,ความชม,ฯลฯ,คำชม,ฯลฯ.โถมฺสิลาฆายํ,อ,ยุ.
โถมนา : (อิต.) การชม,การชมเชย,การยกย่อง,การสรรเสริญ,ความชม,ฯลฯ,คำชม,ฯลฯ.โถมฺสิลาฆายํ,อ,ยุ.
ทสฺสนีย : (วิ.) ควรซึ่งอันเห็น, ควรซึ่งอันดู, ควรเพื่ออันเห็น, ควรเพื่ออันดู, น่าดู, น่าชม, งาม, ทัศนีย์, ทรรศนีย์, ทัศไนย. วิ. ทสฺสนํ ทสฺสหตฺถํ วา อรหตีติ ทสฺสนิโย. ทสฺสน+ อียํ ปัจ. ฐานตัท. กัจฯ และรูปฯ ลง อิย ปัจ. ได้รูปเป็น ทสฺสนีย. ทสฺสนีย ที่ เป็นกริยานั้น เป็น ทสฺ ธาตุ อนีย ปัจ. แปลง ทิสฺ เป็น ทสฺส. ส. ทรฺศนีย.
ทสฺสนีย, - เนยฺย : ค. ซึ่งควรมองดู, ซึ่งควรแก่การเห็น, น่าดู, น่าชม, สวย, งาม
นิยม : (ปุ.) การกำหนด, การหมายไว้, การจำ ศีล, ความกำหนด, ความแน่นอน, ความพร้อมกัน, ความประพฤติ, ความชอบ, ความนับถือ, วัตร, พรต, พรตที่ประพฤติ ตามกาล. นิปุพฺโพ, ยมุ อุปรเม, อ. คำนิยม ไทยใช้เป็นกิริยา ในความหมายว่า ชมชอบ ชื่นชม ยินดี ยอมรับ นับถือ. ส. นิยม.
ปนูติ : (อิต.) ความชม, ความชมเชย, ความสรรเสริญ. ปปุพฺโพ, นุ ถุติยํ, ติ, ทีโฆ.
ปริจย : (ปุ.) การอบรม, การท่อง, การท่อง บ่น, ความชม, ความรู้จักกัน, ความสั่งสม, ความชิน, ความเคยชิน, ความคุ้นเคย, ความอบรม. ปริปุพฺโพ, จิ จเย, อ.
ภทฺท :
(วิ.) งาม, ดี. (ตรงข้ามกับชั่ว), ดีนัก, เป็นที่ชอบใจ, เป็นสุข, เจริญ ,จำเริญ, เรือง, รุ่งเรือง, ผุดผ่อง, ประเสริฐ, น่ารัก, น่าชม, สบาย, สำราญ, สวัสดี, เป็นมงคล, หล่อ (งาม). ภทิ กลฺยาณสุขภาเวสุ, โท, รูปฯ ๖๕๕. ดู ภทฺร ด้วย.
มธุก : (ปุ.) คนผู้ชมมรรคาแห่งสวรรค์, บุคคลผู้แต่งพงศาวดาร. มคฺคํ ถวตีติ มธุโก. มคฺคปุพฺโพ, ถุ ถติยํ, ณฺวุ. คฺคโลโป, ถสฺส โธ.
วิเวจน : นป. การติชม, การเลือกปฏิบัติ
สนฺถว : (ปุ.) ความคุ้นเคย, ความสนิท, ความสนิทสนม, การรู้จัก, การรู้จักกัน, การชม, การชมเชย, การเชยชม, ความชม, ฯลฯ, ตัณหา. สํปพฺโพ, ถุ อภิตฺถเว, โณ, ยุ.
สนฺถวน : (นปุ.) ความคุ้นเคย, ความสนิท, ความสนิทสนม, การรู้จัก, การรู้จักกัน, การชม, การชมเชย, การเชยชม, ความชม, ฯลฯ, ตัณหา. สํปพฺโพ, ถุ อภิตฺถเว, โณ, ยุ.
สิตปณฺณาส : (ปุ.) แมงลัก ชื่อผัก ใบคล้ายโหระพา กินได้ทั้งใบและเม็ด เม็ดนั้นแช่น้ำกินกับน้ำกะทิหวาน, อ้อยช้าง ชื่อพรรณไม้ใช้ทำยาไทย, ผักบุ้งรวม ชื่อผักบุ้งชนิดหนึ่ง ต้นเปนขนใบเล็กรสชมใช้ทำยาไทย. วิ. สิดต สุกฺโก ปณฺราโส สิตฺปณฺณาโส.
สิลาฆ : (วิ.) ชม, ชมเชย, ยกย่อง, สรรเสริญ, อวด.
สิลาฆา : (อิต.) ความชม, ฯลฯ. สิลาฆฺ กตฺถเน, อ, อิตฺถิยํ อา.
อทฺท : (วิ.) ชื้น, ชุ่ม, เปียก, แฉะ, อาบ, ซึม.อทฺคติยํ, อาปุพฺโพ วา, ทา อวขณฺฑเน, โท.
อทฺทายเต : ก. เปียก, ชุ่ม
อริยก : (ปุ.) อริยกะชนชาติอริยกะชื่อชนผู้เป็นต้นตระกูลของพระพุทธเจ้าซึ่งอพยพมาจากตอนเหนือข้ามภูเขามาอยู่ตอนเหนือของชม-พูทวีปคือประเทศอินเดีย (ปัจจุบันแยกออกเป็นหลายประเทศ)
อลฺยอลฺล : (วิ.) เปียก, ชื้น, ชุ่ม, ดิบ, สด, ใหม่อาบ, ซึม. อลฺกลิเล, อโล.รูปฯ ๖๕๙.อภิฯลงลปัจ.ศัพท์ต้นลงยปัจ.
อวสฺสุต : (วิ.) ชุ่ม, เปียก.อวปุพฺโพ, สุปสเว, โต.สุทฺ ปคฺฆรเณ, อ. แปลงทเป็นตซ้อนสฺ.
อโห : (อัพ. นิบาต) หรือ, หรือว่า, หรือไม่, อนิจจา, พุทโธ่, ดังเราชม, ดังเราติเตียน, น่าอัศจรรย์หนอ.
อุนฺทติ : ก. ไหล, ชุ่ม, เปียก
อุนฺน : ค. เปียก, ชุ่ม, ชื้น