กพล : ป. กอง, ก้อน, ชิ้น
ขณฺฑิกา : อิต. ส่วน, ชิ้น, ก้อน, กอง; ไม้เท้า
ปปฏิกา : อิต. เปลือกไม้, สะเก็ด, ชิ้น, เศษ, หน่อ
พิล : (นปุ.) ปล่อง, ช่อง, โพรง, รู, ส่วน, ชิ้น, เสา. พิลฺ เภทเน นิสฺสเย วา, อ.
ชน : (ปุ.) สัตว์, คน, ชน ( ผู้ยังกุศลและอกุศล ให้เกิด ). วิ. กุสลากุสลํ ชเนตีติ ชโน. ชนฺ ชนเน, อ. ส. ชน.
กฏฐกลิงฺคร : นป. ท่อนไม้, ชิ้นไม้
กฏฐขณฺฑ : ป. ท่อนไม้, ชิ้นไม้, ฟืน
กลาปขณฺฑาทิภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งวัตถุมี ชิ้นกระเบื้องเป็นต้น.
กุสิ : นป. ผ้ากุสิ, ชิ้นผ้าตัวยืนเล็กรียาวต่อข้างมณฑล และอัฑฒมณฑลในจีวร ๕ ขันฑ์
ขณฺฑาขณฺฑิก : ค. (ของที่แตก) เป็นท่อนน้อยท่อนใหญ่, แตกออกเป็นชิ้น
โคณก โคนก : (ปุ.) ผ้าโกเชาว์ใหญ่ชิ้นยาว, อาสนะพิเศษประกอบด้วยขนยาว, ผ้า สักหลาดขนยาว, พรม, กุ สทฺเท, ยุ, สกตฺเถ โก, อุสฺโสตฺตํ. ฎีกาอภิฯ ทีเฆน โลเมน ยุตฺโต อาสนปฺปเภโท โคนโก นาม.
จมฺมขณฺฑ : ป. ชิ้นหนัง, ท่อนหนัง, แผ่นหนังสำหรับรองนั่ง
จีวรปฏิวิส : ป. ส่วนจีวร, ชิ้นส่วนของจีวร
จุณฺณวิจุณฺณ : (วิ.) แหลกเหลว, ไม่เป็นชิ้นเป็น อัน, ละเอียด, ป่นปี้, ย่อยยับ, เป็น จุณวิจุณ (ละเอียดไม่มีชิ้นดี).
โจลก, (โจฬก) : นป. ชิ้นผ้า, ท่อนผ้า, เศษผ้า, ผ้าขี้ริ้ว
ทารุ : (นปุ.) ไม้, เปลือกไม้, ท่อนไม้, ชิ้นไม้, ไม้แห้ง, ฟืน. วิ. ทรียตีติ ทารุ. ทรียนฺเต เอเตหีติ วา ทารุ. วิ. หลังนี้ จากโมคฯ. ทรฺ วิทารเณ, ณุ. ทารุ. ที่มาคู่กับไม้ไม่มีแก่น แปล ทารุ ว่าไม้จริง (ไม้มีแก่น). ส. ทารุ
ทารุกฺขณฺฑ : นป. ชิ้นไม้, เศษไม้, ท่อนฟืน
นนฺตก : นป. ชิ้นเล็กชิ้นน้อย, เศษ, ผ้าขี้ริ้ว, ผ้าเปื้อน
นมตก : นป. ชิ้นผ้า (ที่ตัดด้วยศัสตรา)
ปฏฺฏก : นป., ค. แผ่นผ้า, ท่อน, ชิ้นยาว, ผ้าพันแผล; ซึ่งทำด้วยแผ่นผ้า
ปปฏิกา ปปฺปฏิกา : (อิต.) กระบิ คือ แท่ง หรือแผ่นหรือชิ้น ที่บิหรือแยกจากส่วน ใหญ่, สะเก็ด คือชิ้นย่อยของไม้หรือหินที่ แยกจากส่วนใหญ่, กะเทาะ คือสิ่งของหรือ เปลือกไม้ที่หลุดจากพื้นเดิม หรือจากต้น. ป+ปฏ+อิก ปัจ. สกัด อาอิต.
ปิโลติกาขณฺฑ : นป. เศษผ้า, ท่อนผ้า, ผ้าชิ้น
เปสิ, - สิกา : อิต. ชิ้นเล็กๆ
มสเปสิ : อิต. ชิ้นเนื้อ
อวยว : (วิ.) เป็นส่วน ๆ, แยกออกเป็นส่วน ๆ, เป็นชิ้น.
อาณิโคลก : นป. ผ้าขี้ริ้วชิ้นเล็กๆ
ชนกาย : ป. กลุ่มชน, หมู่ชน, ฝูงชน
ชนตา : (อิต.) ประชุมแห่งชน, หมู่แห่งชน, ประชุมชน, ชุมนุมชน. วิ. ชนานํ สมูโห ชนตา.
ชนปาโมกฺข : ค. ผู้เป็นประธานหรือหัวหน้าของกลุ่มชน
ชนกกมฺม : (นปุ.) กรรมอันยังสัตว์ให้เกิด, กรรมอันนำให้สัตว์เกิด, ชนกกรรม (กรรม ที่ยังผู้เคลื่อนจากภพหนึ่งให้เกิดในอีกภพ หนึ่ง กรรมอันเป็นต้นเค้าทั้งข้างดีและ ข้างชั่ว).
ชนติ : ก. ทำเสียง, ออกเสียง, ร้อง
ชนวาท : (ปุ.) การกล่าวโทษ. ชส + วาท แปลง ส เป็น น.
ขญฺชน : (ปุ.) นกไส้, นกเป็ดน้ำ. วิ. ปสฺสนตานํ ขํ สุขํ ชเนตีติ ขญฺชโน. ขปุพฺโพ, ชนฺ ชนเน, อ.
คามชน : ป. ชนในบ้าน, ชาวบ้าน
เคหชน : ป. เคหชน, คนที่อยู่ในบ้าน, สมาชิกในครัวเรือน
ชีว : (ปุ.) อาตมะ, อาตมัน, พระพฤหัสบดี, สัตว์, ชน, คน, ความเป็นอยู่, ความมีชีวิต อยู่, ความเกิด, ชีพ (ความเป็นอยู่). ชีวฺ ปาณธารเณ, อ. ส. ชีว.
นานาชน : ป. ชนต่างๆ , คนหลายพวก
นิโยชน : (นปุ.) การส่งไป, การส่งเสริม, การประกอบเข้า, การรวมเข้า, การสั่ง, การสั่งให้ทำ. ยุ ปัจ. ส. นิโยชน.
ปโยชน : (นปุ.) การรับใช้, การส่งไป, สิ่งอันเหตุพึงทำให้สำเร็จ, ผลอันสำเร็จมาจาก เหตุ. วิ. ยํ ผลํ เหตุนา โยเชตพฺพํ ปวตฺตพฺพํ ตสฺมา ตํ ผลํ ปโยชนํ. ปปุพฺโพ, ยุชฺ ปวตฺติยํ, ยุ. สิ่งอันบุคคลพึงประกอบ ( เพราะเป็นสิ่งที่ให้คุณ ) , ความดี, วิ. ปโยเชตพฺพนฺติ ปโยชนํ. ยุชฺ โยเค. ไทย ประโยชน์ ใช้ในความหมายว่า สิ่งที่มีผลใช้ได้ดีสมกับที่คิดมุ่งหมายไว้ หรือผลที่ได้ตามต้องการสิ่งที่เป็นผลดี สิ่งที่เป็นคุณ. ส. ปฺรโยชน.
พหุชน : (ปุ.) คนมาก, คนจำนวนมาก, ชนมาก.
สุตชน : (ปุ.) ชนเกิดแต่กษัตริย์กับด้วยนางพรมหมณีชื่อสุตะ.
โสตุชน : (ปุ.) ชนผู้ฟัง, นักศึกษา.
โสภญฺชน : (ปุ.) มะรุม วิ. โสภํ ชเนตีติ โภญฺชโน. โสภปุพฺโพ. ชนฺ ปาตุภเว, อ. โสภติ อญฺชนํ เอเตน เหตุภูเตนาติ วา โสภญฺชโน.
อนฺโตชน : (ปุ.) ชนภายใน, ชนภายในแห่งเรือน
อริยชน : (ปุ.) ชนผู้เจริญ, อารยชน (ชนผู้เจริญด้วยความรู้ความสามารถและขนบธรรม-เนียมอันดีงาม).
อารามิกอารามิกชน : (ปุ.) คนอยู่ในวัด, คนอา-ศัยวัดเป็นอยู่, คนอาศัยวัด, คนงานประจำวัด, คนวัด, อารามิกชน.
อิสฺสรชน : ป. อิสรชน, ผู้เป็นไทย, ผู้มีอำนาจ
กณฺหอญฺชน : นป. การขัดจนเป็นมัน, การขัดให้เป็นเงา
กลฺยาณปุถุชฺชน : (ปุ.) ปุถุชนผู้งาม วิ. เยสํ ขนฺธธาตุอายตนาทีสุ อุคฺคหปริปุจฺฉาปจฺจ เวกฺขณานิ อตฺถิ เต กลฺยาณปุถุชฺชนา.