ชีว : (ปุ.) อาตมะ, อาตมัน, พระพฤหัสบดี, สัตว์, ชน, คน, ความเป็นอยู่, ความมีชีวิต อยู่, ความเกิด, ชีพ (ความเป็นอยู่). ชีวฺ ปาณธารเณ, อ. ส. ชีว.
ปตฺตชีวก : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งการเลี้ยงชีพ วิ. ชีวิกํ ปตฺโต ปตฺตชีวโก. กลับบทหน้าไว้หลัง รูปฯ ๓๓๖.
นิชฺชีว : (วิ.) มีชีพออกแล้ว, ไม่มีชีวิต.
ยาวชีว : ก. วิ. ตลอดชีพ
รงฺคชีว รงฺคาชีว : (ปุ.) บุคคลผู้เลี้ยงชีพด้วยสี, ช่างเขียน.
สชีว : ค. ร่วมชีพ
สาชีว : (นปุ.) สาชีพ (การเลี้ยงชีพ) คือ สิกขาบทที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้.
สิกฺขาสาชีว : (ปุ.) การศึกษารและการครองชีพ.
อาชีวฏฺฐมกสีล : (นปุ.) ศีลมีอาชีวะเป็นที่แปด, ศีลมีการเลี้ยงชีพบริสุทธิ์เป็นที่แปดคือกายสุจริต๓วจีสุจริต๔และสัมมาอาชีวะ๑.
อาชีววิปตฺติ : อิต. ความวิบัติแห่งการเลี้ยงชีพ, ความเป็นผู้เลี้ยงชีพผิด
อาชีวสมฺปทา : อิต. ความถึงพร้อมแห่งการเลี้ยงชีพ
กปฺเปติ : ก. สำเร็จ, เลี้ยงชีพ, จัดแจง, เตรียม, พิจารณา, ทำให้เหมาะสม
ชีวิตวุตฺติ : อิต. ความเป็นไปแห่งชีวิต, ความเป็นอยู่, การดำรงชีพ
ปิณฺฑ, - ฑก : ป. ก้อน, ก้อนข้าว, การเลี้ยงชีพ, ร่างกาย, การประมวล
ภติก : (วิ.) ผู้เลี้ยงชีพด้วยค่าจ้าง, ผู้ทำซึ่งค่าจ้าง. ภติ+กรฺ+กฺวิ ปัจ.
ยคฺเฆ : (อัพ. นิบาต) เป็นคำอาลปนะของคนที่ต่ำพูดกับคนที่สูงกว่า แปลว่า ขอเดชะ หรือ สรวมชีพ. และแปลว่า ได้ยินว่า, แล.
ยาเปติ : ก. เลี้ยงชีพ, ดำรงชีพ, ยังชีวิตให้เป็นไป ; ให้ไป ; นำไป
วุตฺติ : อิต. ความเป็นไป, ความประพฤติ, การเลี้ยงชีพ
สสน : (นปุ.) การเป็นอยู่, การมีชีพอยู่. สสฺ ปาณเน, ยุ. การเบียดเบียน, การฆ่า, การฆ่าฟัน. สสฺ หึสายํ, ยุ.
อภิชีวนิก : ค. (ศิลป) ที่ทำให้สำเร็จการเลี้ยงชีพ, เกี่ยวกับการดำรงชีพ
อาชีว : (ปุ.) ความเป็นอยู่, การเลี้ยงชีพ, การเลี้ยงชีวิต, อาชีพ(การทำมาหากิน), ธรรมเป็นที่มาเป็นอยู่. วิ.อาชีวนํอาชีโว.อาชีวติเอเตนาติอาชีโว.อาปุพฺโพ, ชีวฺปาณธาร-เณ, อ.ส.อาชีว.
อาชีวกภย : (นปุ.) ภัยแต่การเลี้ยงชีวิต, ภัยอันเกิดแก่การเลี้ยงชีวิต, ภัยเกิดแก่การเลี้ยงชีพ.
อาชีวติ : ก. เป็นอยู่, ดำรงชีพอยู่
อาชีวปริสุทฺธิ : อิต. ความบริสุทธิ์แห่งการเลี้ยงชีพ
อาชีวิก : นป. การดำรงชีพอยู่, ความเป็นอยู่
อาชีวี : ๑. ป. การดำรงชีพ, การเลี้ยงชีพ ;
๒. ค. ผู้มีการเลี้ยงชีพ, ผู้ดำรงชีพ
อายกุสล : นป. ความฉลาดในการหาเลี้ยงชีพ
อุญฺฉาจริยา : อิต. การเที่ยวขอทานเลี้ยงชีพ
ชีว ชีวน : (วิ.) เป็น ( ยังไม่ตาย ), เป็นอยู่.
ชีวญฺชีว : (ปุ.) นกพริก, นกโพระดก. วิ. ชีวชีวาติ สทฺทํ กโรตีติ ชีวญฺชีโว.
ชีวนี ชีวนฺตี : (อิต.) เทียนเยาวพาณี วิ. ชีวนฺติ เอตายาติ ชีวนี ชีวนฺตี วา. ชีวฺ+ยุ, อนฺต ปัจ. อี อิต.
ชีวสมุน : (นปุ.) ชบา, กุหลาบ, สะเอ้ง ชื่อ พรรณไม้ชนิดหนึ่ง. วิ. ชีวตฺถํ สุมนํ ชีวสุมนํ.
ชีวคาห : (วิ.) จับเป็น.
ชีวชีวก : (ปุ.) นกพริก.
ชีวติ : ก. เป็นอยู่, มีชีวิตอยู่
ชีวนี, ชีวนฺตี : อิต. ต้นเยาวพาณี
ชีวมนฺทิร : ป. ร่างกาย
ชีววาร : (ปุ.) วันพฤหัสบดี.
ชีวสาธน : นป. อาหาร, ข้าว
เขตฺตาชีว เขตฺตาชีวี : (ปุ.) ชาวนา (ผู้มีอาชีพ ทำไร่ทำนา), คนผู้เลี้ยงชีวิตด้วยที่ดิน. วิ. ตฺเตน ชีวตีติเขตฺตาชีโว. เขตฺตสทฺทุปฺปทํ, อาปุพฺโพ, ชีวฺ ปาณธารเณ, อ. ศัพท์หลัง ลง อี ปัจ.
คุณเทสนาปริยตฺตินิสฺสตฺตนิชฺชีววส : (วิ.) อันสามารถแห่งคุณธรรมและเทสนาธรรม และปริยัติธรรม และนิสสัตตนิชชีวธรรม.
ยาวชีว : (นปุ.) เพียงไรแห่งชีวิต, กำหนดเพียงไร. แห่งชีวิต. วิ. ชีวสฺส ยตตโก ปริจฺเฉโท ยาวชีวํ.
เขตฺตาชีว : ป. ผู้มีอาชีพทางทำนาหรือทำสวน, เกษตรกร, กสิกร
คชาชีว : (ปุ.) คนผู้เป็นอยู่ด้วยการเลี้ยงช้าง, คนเลี้ยงช้าง, หมอช้าง, ควาญช้าง.
ชายาชีว : ป. นักแสดง
ทุชฺชีว : (ปุ. นปุ.) ความเป็นอยู่ยาก,ความเป็นอยู่ลำบาก,ชีวิตยากแค้น.
ปฏิสญฺชีวติ : ค. กลับมีชีวิตขึ้นอีก, คืนชีพ, ฟื้น