Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ชุ่มชื่น, ชุ่ม, ชื่น , then ชน, ชม, ชมชน, ชื่น, ชุ่ม, ชุ่มชื่น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ชุ่มชื่น, 424 found, display 1-50
  1. กิลิชฺชติ : ก. เปียก, ชุ่ม, (แผล)เป็นหนอง
  2. กิลินฺน : (วิ.) เปียก, ชื้น, ชุ่ม, ซึม, เยิ้ม, หม่นหมอง. กิลิทฺ อทฺทภาเว, โต, อินฺนา เทโส, ทฺโลโป.
  3. กิลิสฺสติ : ก. เปียก, ชุ่ม, เศร้าหมอง, ไม่บริสุทธิ์
  4. ฉว : (วิ.) เลว, ชั่ว, ชั่วช้า, ลามก, ถ่อย, ร้าย, โหด, โหดร้าย, เสื่อม, เปียก, เยิ้ม, ชุ่ม, ตัด, บั่น, ทอน. ฉุ หีนตินฺตเฉทเนสุ, โณ.
  5. ติมิร ติมิล : (วิ.) ชื้น, ชุ่ม, เปียก. ติมุ อทฺทภาเว, อิโร. มืด, บอด. ติมุ กํขายํ, อิโร. ศัพท์ หลังแปลง ร เป็น ล.
  6. เตมน : (วิ.) เปียก, ชื้น, ชุ่ม, เยิ้ม. ติมุ อทฺทภาเว, ยุ. ส. เตมน.
  7. อทฺท : (วิ.) ชื้น, ชุ่ม, เปียก, แฉะ, อาบ, ซึม.อทฺคติยํ, อาปุพฺโพ วา, ทา อวขณฺฑเน, โท.
  8. อทฺทายเต : ก. เปียก, ชุ่ม
  9. อลฺยอลฺล : (วิ.) เปียก, ชื้น, ชุ่ม, ดิบ, สด, ใหม่อาบ, ซึม. อลฺกลิเล, อโล.รูปฯ ๖๕๙.อภิฯลงลปัจ.ศัพท์ต้นลงยปัจ.
  10. อุนฺทติ : ก. ไหล, ชุ่ม, เปียก
  11. อุนฺน : ค. เปียก, ชุ่ม, ชื้น
  12. ชน : (ปุ.) สัตว์, คน, ชน ( ผู้ยังกุศลและอกุศล ให้เกิด ). วิ. กุสลากุสลํ ชเนตีติ ชโน. ชนฺ ชนเน, อ. ส. ชน.
  13. สุต : (วิ.) ฟัง, สดับ, ได้ยิน, ได้ฟัง, ไหล, ไหลไป, เปียก, ชุ่ม. สุ สวเน, โต. เบียดเบียน, ผูก, จำ, สะสม, ติดต่อ, ละเอียด, ป่น. สุ อภิสเว. ขวนขวาย, แสวงหา, ปรากฏ, มีชื่อเสียง. สุ คติวุทีสุ.
  14. โตสน : (วิ.) ยินดี, พอใจ, แช่มชื่น, ให้ยินดี, ฯลฯ.
  15. โทสาคติ : (อิต.) ความลำเอียงเพราะความไม่ แช่มชื่น, ความลำเอียงเพราะความไม่ชอบ, ความลำเอียงเพราะไม่ชอบกัน, โทสาคติ. อคติ ๔ ข้อที่ ๒.
  16. อวสฺสุต : (วิ.) ชุ่ม, เปียก.อวปุพฺโพ, สุปสเว, โต.สุทฺ ปคฺฆรเณ, อ. แปลงทเป็นตซ้อนสฺ.
  17. กจฺฉา : (อิต.) เชือกสำหรับผูกท่ามกลางตัวช้าง, สายรัดกลางตัวช้าง, สายรัดท้องช้าง, ปลายแขน, ข้อมือ, ชายกระเบน, หางกระ เบน, สายรัดเอว, รักแร้, หญ้า, เครือเถา, ที่ชุ่มน้ำ.
  18. กฺลทน : (นปุ.) ความชื้น, ความชุ่ม, ความเปียก, ความซึม, ความเยิ้ม. กฺลทฺ อลฺลภาเว, ยุ. ส. กฺลทน.
  19. กิลิสฺสน : นป. ความเปียก, ความชุ่ม, ความเศร้าหมอง, ความไม่บริสุทธิ์
  20. ตุฏฺฐ : (อิต.) ความชื่นชม, ความแช่มชื่น, ความยินดี, ความพอใจ, ความร่าเริง, ความรื่นเริง. วิ. ตุสนํ ตุฏฺฐ. ตุสฺ ตุฏฐยํ, ติ. แปลง ติ เป็น ฏฺฐ  ลบที่สุดธาตุ.
  21. ตุสน : (นปุ.) ความยินดี, ความแช่มชื่น, ความชื่นชม, ดุษฎี. ตุสฺ ตุฏฺฐยํ, ยุ. ส. ตุษฺฏิ.
  22. เตมิตุ : อ. (ปฐ., จตุ) การเปียก, การทำให้เปียก, การชุ่มชื้น; เพื่ออันเปียก, เพื่ออันชุ่ม
  23. เตเมติ : ก. ทำให้เปียก, ทำให้ชุ่ม, ทำให้ชื้น
  24. เตลปิโลติก : ป. ผ้าเก่าอันชุ่มด้วยน้ำมัน, ผ้าชุบน้ำมัน
  25. ทิฏฺฐ : (ปุ.) ความยินดี, ความพอใจล ความแช่มชื่น. ตุสฺ ตุฎฺฐยํ, โต. แปลง ต เป็น ฎฺฐ ลบ สฺ แปลง อุ เป็น อิ แปลง ตฺ เป็น ทฺ.
  26. โทส : (วิ.) หมดความแช่มชื่น, ไม่แช่มชื่น, ไม่ชอบ, ไม่ชอบใจ, ไม่พอใจ, ชัง, โกรธ, โกรธขึ้ง, ขึ้งเคียด, เคือง, ฉุนเฉียว, ประทุษร้าย, เป็นเครื่องประทุษร้าย. ทุสฺ อปฺปีติโทสเนสุ, โณ.
  27. ปีติปาโมชฺช : นป. ความอิ่มใจและความชื่นชูใจ
  28. มโนโตส : (ปุ.) ความยินดีแห่งใจ, ความแช่มชื่นแห่งใจ, ฯลฯ. มน+โตส.
  29. รุทมฺมุข : ค. ซึ่งมีหน้าชุ่มด้วยน้ำตา
  30. สมฺปสาท : ป. ความเลื่อมใส, ความชื่นใจ, ความแจ่มใส
  31. สลิลปฺปาย : (ปุ.) ที่มีน้ำมาก, ที่ชุ่มชื้น, ที่อันชุ่มชื้น. วิ. ปาโย พหุลํ สลิลํ เอตฺถาติ สลิลปฺปาโย พหูทกเทโส.
  32. สาทิ : (วิ.) หวาน, อร่อย, ฯลฯ, พึงใจ, ชื่นใจ. สทฺ อสฺสาทเน, ณุ.
  33. สาทุ : ค. อร่อย, ชื่นใจ
  34. เสทาวกฺขิตฺต : ค. ชุ่มด้วยเหงื่อ
  35. อนุป : (ปุ.) ประเทศอันชุ่มชื้นด้วยน้ำวิ. อนุคตาอาปาอเตฺรติอนุโป.บางมติว่า เป็นไตรลิงค์.ส.อนุป.
  36. อนุสฺสุต : ๑. กิต. ได้ฟังแล้ว, ได้ยินแล้ว ; ๒. ค. ไม่ชุ่ม, ปราศจากราคะ
  37. อนูป : ค. ที่ชุ่มชื้น, ที่แฉะ
  38. อปฺปตีต : ค. ไม่แช่มชื่น, ไม่พอใจ
  39. อเสจน : (วิ.) ยังปิติแห่งจิตและนัยน์ตาให้เกิด, ชื่นใจ, ชื่นตา, หน้าตาชื่นบาน, หน้าตาเบิกบาน, ยั่วยวน.จิตฺตสฺสอกฺขิโนจปิติชนกํวตฺถุอเสจนํนาม.
  40. อุตฺตานมุข : ค. มีหน้าเบิกบาน, มีหน้าแช่มชื่นแจ่มใส
  41. อุทเกส : (วิ.) มีผมอันชุ่มแล้วด้วยน้ำ. วิ. อุทเกน ตินฺตเกโส อุทเกโส. อถวา, อุทก ตินฺตาเกสา ยสฺส โส อุทเกโส. ลบ ก ที่ อุทก.
  42. อุสุม : (ปุ.) ไอ, ไอน้ำ, ไออุ่น, ไอชุ่ม, ไออบ, ความร้อน, ฤดูร้อน, อรสุม. เรียกพยัญชนะ ที่มีลมเสียดแทรกออกมาตามฟัน ว่ามีเสียง อรสุม ได้แก่เสียง ศ, ษ, ส. ส.อุษฺม อุษมนฺ.
  43. ชนกาย : ป. กลุ่มชน, หมู่ชน, ฝูงชน
  44. ชนตา : (อิต.) ประชุมแห่งชน, หมู่แห่งชน, ประชุมชน, ชุมนุมชน. วิ. ชนานํ สมูโห ชนตา.
  45. ชนปาโมกฺข : ค. ผู้เป็นประธานหรือหัวหน้าของกลุ่มชน
  46. ชนสมฺมทฺท : ป. ดู ชนกาย
  47. ชนกกมฺม : (นปุ.) กรรมอันยังสัตว์ให้เกิด, กรรมอันนำให้สัตว์เกิด, ชนกกรรม (กรรม ที่ยังผู้เคลื่อนจากภพหนึ่งให้เกิดในอีกภพ หนึ่ง กรรมอันเป็นต้นเค้าทั้งข้างดีและ ข้างชั่ว).
  48. ชนติ : ก. ทำเสียง, ออกเสียง, ร้อง
  49. ชนวาท : (ปุ.) การกล่าวโทษ. ชส + วาท แปลง ส เป็น น.
  50. อริยก : (ปุ.) อริยกะชนชาติอริยกะชื่อชนผู้เป็นต้นตระกูลของพระพุทธเจ้าซึ่งอพยพมาจากตอนเหนือข้ามภูเขามาอยู่ตอนเหนือของชม-พูทวีปคือประเทศอินเดีย (ปัจจุบันแยกออกเป็นหลายประเทศ)
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-424

(0.0813 sec)