ปริหาริก : ค. ผู้ปกครอง, ผู้ช่วยเหลือ, ผู้ดูแล
อารกฺขอารกฺขณ : (นปุ.) การป้องกัน, การดูแล, การรักษา, การคุ้มครอง, อารักขา.ขออารักขาคือขอให้ฝ่ายบ้านเมืองมาช่วยคุ้มครองป้องกันภัยอันตราย.อาปุพฺโพ, รกฺขฺปาลเนอ, ยุ.ส.อารกฺษ.
อุตฺตาเรติ : ก. ให้ข้าม, ช่วย, ดึง, ลาก
อุลฺลุมฺปติ : ก. ยกขึ้น, ช่วย
โคเปติ : ป. รักษา, คุ้มครอง, ดูแล, เฝ้า
ปฏิชคฺคติ : ก. ปฏิบัติ, บำรุง, ดูแล, เลี้ยงดู, ซ่อมแซม
รกฺขติ : ก. รักษา, ดูแล, เฝ้าดู
อวิต : ค. ปกปัก, รักษา, ดูแล
อารกฺขติ : ก. รักษา, คุ้มครอง, ป้องกัน, ดูแล
กมฺมาธิฏฐายก : ป. ผู้ดูแลการงาน, ผู้คุมงาน
กมฺมิก,กมฺมี : ป. ผู้กระทำ, ผู้ดูแล; การกระทำ
กรุณา : (อิต.) ความหวั่นใจ, ความหวั่นใจใน เมื่อผู้อื่นมีทุกข์, ความสงสาร, ความสงสาร คิดจะช่วยให้เขาพ้นทุกข์, ความเอ็นดู, ความปราณี, ความอนุเคราะห์, ความกรุณา, กรุณา. วิ. ปรทุกฺเข สติ สาธูนํ หทยกมฺปนํ กโรตีติ กรุณา. กรฺ กรเณ, อุโณ, กุโน วา, กโลโป, นสฺส ณตฺตํ. กํ สุขํ รุนฺธตีติ วา กรุณา. กปุพฺโพ, รุธิ อาวร เณ, อุโณ, ธิโลโป. กิรตีติ วา กรุณา. กิรฺ วิกฺขิปเน, อุโณ. กิณาตีติ วา กรุณา. กิ หึสายํ, รุโณ. กิรียตีติ วา กรุณา. กิรฺปสาร เณ, ยุ. กมฺปนํ กโรตีติ วา กรุณา. กรฺ กรเณ, ยุ. แปลง ยุ เป็น อณ รฺ อาศัย อ แปลง อ ที่ ร เป็น อุ อาอิต. ส. กรูณ.
กายบริหาร : (ปุ.) การรักษาร่างกาย, การดูแลร่างกาย. คำกายบริหาร ไทยใช้ในความหมายว่า การบำรุงร่างกาย การออกกำลัง เพื่อรักษาร่างกาย.
กายเวยฺยาวจฺจ : นป. การรับใช้ทางกาย; การช่วยเหลือด้วยกาย; หน้าที่บ่าว, หน้าที่ของคนใช้
กายสงฺคห : ป. กายสงเคราะห์, การช่วยเหลือทางกาย
กุจฺฉิวิตฺถมฺภน : นป. การค้ำจุนท้อง, การช่วยเหลือให้ลำไส้ปฏิบัติงานได้ตามปกติ (การย่อยอาหาร)
กุมารภจฺจา : อิต. นางผดุงครรภ์, คนดูแลเด็ก
โคเปตุ : ป. ผู้รักษา, ผู้ดูแล
ฆรเมสี : ป. ผู้ดูแลบ้าน, พ่อบ้าน, เจ้าของบ้าน
ชคฺค : นป. ความตื่นตัว, การดูแล, การเอาใจใส่
ชคฺคติ : ก. ดูแล, รักษา, เอาใจใส่, บำรุงเลี้ยง, ระวัง
ตาเรตุ : ก. ผู้ช่วยให้ข้าม
ทยา : (อิต.) ความเอ็นดู, ความอนุเคราะห์, ความรัก, ความรักใคร่, ความกรุณา. วิ. ทยติ ปรทุกขํ อตฺตสุขญฺจ หึสตีติ ทยา. ทยฺ ทานคติหึสาทานรกฺขาสุ, อ. อธิบายความหมายของศัพท์ ทยา ตามอรรถของธาตุ ให้คือให้อภัยแก่สัตว์ ไป คือ จิตไปเสมอในคนดีคนชั่วและสัตว์เบียดเบียนคือ รบเร้าจิตเตือนให้ช่วยเหลือผู้อื่น. ส. ทยา.
นิจฺฉรณ : นป. การปล่อยออก, การซ่านออก, การฟุ้งไป, การเปล่ง, การช่วยให้มีอิสระ
นิตฺถรก นิตฺกรณก : (วิ.) ผู้ช่วย, ช่วยเหลือ, ผู้รื้อ, ผู้รื้อถอน, ผู้ถอนออก, ผู้ถอนตน ออกจากทุกข์.
นิตฺรถรณ : (นปุ.) การช่วยเหลือ, ฯลฯ, ความช่วยเหลือ, ฯลฯ.
นิปจฺจการ : ป. ความถ่อมตัว, ความเคารพ, ความเชื่อฟัง, ความสุภาพ, ความนับถือ, ความช่วยเหลือ
นิพฺพุยฺหติ : ก. อัน...นำออก, อันช่วยให้พ้นภัย
ปคฺคหิต : กิต. ยกย่องแล้ว, อุปถัมภ์แล้ว, ช่วยเหลือแล้ว
ปฏิชคฺคก : ค. ผู้ปฏิบัติ, ผู้บำรุง, ผู้ดูแล, ผู้เลี้ยงดู
ปฏิชคฺคน : นป. การปฏิบัติ, การบำรุง, การดูแล, การเลี้ยงดู, การซ่อมแซม
ปฏิชคฺคนก : ค. ผู้ปฏิบัติ, ผู้บำรุง, ผู้ดูแล, ผู้เลี้ยงดู
ปฏิชคฺคาเปติ : ก. ให้ปฏิบัติ, ให้บำรุง, ให้ดูแล, ให้เลี้ยงดู
ปฏิชคฺคิต : กิต. (อันเขา) ปฏิบัติแล้ว, บำรุงแล้ว, ดูแลแล้ว, เลี้ยงดูแล้ว
ปติฏฺฐา : อิต. ที่พึ่ง, ที่อาศัย, ที่ยึดเหนี่ยว; ความค้ำจุน; ความช่วยเหลือ; ผู้ช่วยเหลือ
ปริจารณา : อิต. ความดูแล, การตรวจตรารอบๆ , การบำเรอ
ปริปท : (นปุ.) ข้อความรอบๆ , บทข้างเคียง คือคำหรือข้อความแวดล้อม เพื่อช่วยให้ เข้าใจความหมาย.
ปริเวสนา : อิต. การจัดอาหาร, การดูแลอาหารในขณะเลี้ยงกัน
ปริหาร : ป. การบริหาร, การคุ้มครอง, การป้องกัน, การดูแล
ปริหารก : ค. ผู้บริหาร, ผู้คุ้มครอง, ผู้ดูแล
พฺยาปาล : (วิ.) ผู้รักษาโดยเอื้อเฟื้อวิเศษ, ผู้ดูแลโดยเอื้อเฟื้อโดยวิเศษ, ผู้ดูแลรักษาคนไข้, ผู้ปฏิบัติคนไข้.
รกฺขน : นป. การรักษา, การดูแล
รกฺขิย : ค. พึงรักษา; พึงดูแล
เวยฺยาวจฺจ : นป. การขวนขวายช่วยเหลือ
เวยฺยาวจฺจกร : ป. ผู้ทำการขวนขวายช่วยเหลือ
สุงฺก : (ปุ. นปุ.) ภาษี, อากร คือค่าธรรมเนียมที่รัฐบาลเรียกเก็บจากสิ่งที่เกิดจากธรรมชาติหรือสิ่งที่ทำขึ้นเพื่อการค้า, ส่วย คือของที่เรียกเก็บจากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวงตามวีเรียกเก็บภาษีอากรสมัยโบราณ หรือเงินช่วยเหลือราชการที่กำหนดเรียกเก็บจากราษฎร สมัยก่อนชายที่ไม่ได้เป็นทหารจะต้องเสียส่วยให้รัฐบาลปีละ ๖ บาท. วิ. สํกติ เยน ตํ สุงฺกํ. สํก คมเน, อ.
หนฺท : (อัพ. นิบาต) ก็, เชิญเถิด, เอาเถิด, เอาเถอะ, ช่างเถอะ, ช่างเถิด, วานทีเถิด, ช่วยทีเถิด, ผิดังนั้น, ทำกระไร.
อธิฏฺฐายก : ๑. ป. ผู้ดูแล, ผู้รักษา;
๒. ค. ซึ่งดูแล, ซึ่งรักษา
อนฺตกร : (ปุ.) ชนผู้กระทำซึ่งที่สุดคือช่วยให้รอดฝั่ง.
อนุกุลอนุกูล : (นปุ.) การอนุเคราะห์, การช่วยเหลือ, การเกื้อกูล, ความอนุเคราะห์, ฯลฯความโอบอ้อมอารี, ความเอื้อเฟื้อ, ความกรุณา.ส. อนุกูล.