กุหร : (นปุ.) รู, ช่อง, โพรง, คูหา, บ่อ, แอ่ง. กุห. วิมฺหยเน, อโร. ส. กุหร.
กูป : (ปุ.) หม้อ, ช่อง, ขุม, หลุม, บ่อ, บ่อน้ำ เสากระโดง. วิ. กวนฺติ นทนฺติ มณฺฑูกา เอตฺถาติ กูโป. กุ สทฺเท, โป, ทีโฆ. กุ อปฺปโก อาโป อสฺมินฺติ วา กูโป กุ+อาป. ส. กูป.
โกฏฐ : ๑. ป., นป. กระเพาะ, ลำไส้, ท้อง; ยุ้ง, ฉาง, ห้องเก็บของ, กุฏิพระ; ช่อง, โพรง, ห้อง;
๒. นป. ต้นโกฐ;
๓. ป. นกเปล้า
ขานิก : (นปุ.) โพรง, รู, ช่อง, ปล่อง.
ฉิคฺคล : (นปุ.) รู, ช่อง, โพรง, ขุม, หลุม, บ่อ. วิ. ฉินฺทิตฺวา คจฺฉตีติ ฉิคฺคลํ. ฉิ+คมฺ+อ ปัจ. แปลง ม. เป็น ล ซ้อน คฺ.
ฉิทฺทตา : อิต. ความเป็นคือรอยแตกหรือช่อง, รอยแตก, ช่อง, รู
ทฺวาร : (นปุ.) ประตู, ปาก, ช่อง, อุบาย, ทาง. ทฺวรฺ สํวรเณ, โณ, อภิธัมมวิภาวินีปท โยชนาเป็น ทฺวารฺ ธาตุ อ. ปัจ. เป็น ทฺวารา
นาล นาฬ : (นปุ.) ก้าน, กิ่ง, กระบอก, กล้อง, ลำต้น, ช่อง, ท่อ, หลอด. นลฺ คนฺเธ, โณ. ส. นาล.
นาลิ นาฬิ : (อิต.) ก้าน, กิ่ง, กระบอก, กล่อง, กล้อง, ลำต้น, ช่อง, ท่อ, หลอด, ทะนาน, แล่ง ( ๒ แล่งเป็น ๑ ทะนาน), นาลี นาฬี ชื่อมาตราตวง, ส. นาฑิ, นาฑิลิ, นาฑิลี.
นิทฺท : นป. ถ้ำ, รู, ช่อง, โพรง
พิล : (นปุ.) ปล่อง, ช่อง, โพรง, รู, ส่วน, ชิ้น, เสา. พิลฺ เภทเน นิสฺสเย วา, อ.
มคฺค : (ปุ.) ถนน, หน (ทาง), ทาง, หนทาง, ช่อง, อุบาย, เหตุ (ใช้คู่กับคำว่าผล), มรคา, มรรคา, มรรค. วิ. ปถิเกหิ มชฺชเต นิตฺติณํ กรียเตติ มคฺโค. มชฺชฺ สํสุทฺธิยํ, โณ, ชสฺส คตฺตํ. ปถิเกหิ มคฺคียเตติ วา มคฺโค. มคฺคฺ อเนฺวส-เน, อ. ตํ ตํ กิจฺจํ หิตํ วา นิปฺผาเทตุกาเมหิ มคฺคียตี-ติ วา มคฺโค.
รนฺธ : นป. รู, ช่อง, โพรง; พิรุธ, โทษ
สุสี : ป. รู ; ช่อง, โพรง
อนฺตริกา : อิต. ภายในระหว่าง, ช่อง
อวฏ : (ปุ.) ปล่อง, ช่อง, รู, ถ้ำ, หนอก, ต้นคอ, ต้นไม้.อาปุพฺโพ, วฏฺวิภาชเน, อ, รสฺโส.
อวตาร : (ปุ.) การลง, การหยั่งลง, การข้าม, การข้ามลง, ท่า, ท่าน้ำ, รู, ช่อง, โพรง, ละแวก.อวปุพฺโพ, ตรฺตรเณ, โณ.ส. อวตาร.
อานน : (นปุ.) ปาก, หน้า (หน้าตา), ช่อง, ประตูป่า.วิ.อนฺนติอสฺสสนฺติอเนนาติอานนํ.อนฺปาณเน, ยุ.อสฺภกฺขเณวา, ทีโฆ.แปลงสเป็นน.ส.อานน.
กุญฺจิกาวิวร : (นปุ.) ช่องแห่งกุญแจ, ช่อง กุญแจ, ช่องดาฬ. กุญฺจิกา+วิวร.
โสพฺภ : (นปุ.) รู, ช่อง โพรง. วิ. สุฎฺฐุ อพฺภ มากาส มสฺมินฺติ โสพฺภํ. สีทนฺติ เอตฺถาติ วา โสพฺภํ. สิทฺ คตฺวสาเน, โภ, อิสฺโส, ทสฺส โพ.
คนฺธญฺญา : อิต. จมูก
ฆาน : (นปุ.) จมูก วิ. ฆายติ คนฺโธปาทานํ กโรตีติ ฆานํ. ฆายนฺติ อเนนาติ วา ฆานํ. ฆา คนฺโธปาทาเน, ยุ.
โฆณา : อิต. จมูก
ฉชฺช : (ปุ.) ฉัชชะ ชื่อเสียงดนตรีอย่างที่ ๓ ใน ๗ อย่าง เกิดจากหกส่วนคือ จมูก ปาก อก เพดาน ลิ้น และฟันหรือคอ เป็นเสียง เหมือนนกยูงร้อง วิ. ฉหิ ชาโต ฉชฺโช. ฉ+ชนฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ลบที่สุดธาตุ แปลง ช เป็น ชฺช.
นกุฏ : (นปุ.) จมูก. ส. นกุฏ.
นตฺถุ : (อิต.) จมูก. นาสฺ สทฺเท, ถุ, รสฺโส, สสฺส โต. ไทย ยานัตถุ์ ก็คือยาที่เป่าเข้า ไปในจมูก.
นามธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเป็นนาม, นามธรรม รู้ไม่ได้ทางตา หู จมูก ลิ้น หรือกาย แต่ รู้ได้ทางใจ).
นาสิกา : (อิต.) จมูก. นาสา เอว. นาสิกา. สตฺเถ อิโก. ส. นาสิกา.
สึฆาน สิงฺฆาน : (นปุ.) จมูก. สึฆ อาฆาเน, ยุ.
โอตาร : (ปุ.) การข้ามลง, ท่าข้าม, ช่อง. ณ. ปัจ.
วิวร : นป. ช่อง, ปล่อง, โพรง
สุสิ : (อิต.) ช่อง, รู โพรง. สุสฺ โสสเน, อิ. สสฺ คติยํ, อสฺส.
โอกาส : (ปุ.) ช่อง, ช่องเป็นที่ไถลง, ที่แจ้ง, ที่ว่าง, เหตุ, การณะ, เวลา, สถานที่, เทสะ, เอกเทศ, ทาง, ทนทาง. อวปุพฺโพ, กสฺ วิเลขเน, โณ. ไทย โอกาส (โอกาด) ใช้ ในความหมายว่า เวลาที่เหมาะสม เวลาที่เหมาะ ช่องที่เหมาะ อุ. ได้โอกาส การอนุญาต อุ. ให้โอกาส. ส. อวกาศ.
กกุภ : (ปุ.) ช่องพิณ. ส. กกุภ.
กณฺณ (จฺ) ฉิทฺท : นป. ช่องหู, รูหู
กณฺณพิล : นป. ช่องหู
กณฺณโสต : นป. ช่องหู, รูหู
กามมคฺค : ป. กามมรรค, วิถีทางเป็นที่ดำเนินไปเพื่อความใคร่, ช่องสังวาส
กายทฺวาร : (นปุ.) ทางแห่งกาย, ช่องแห่งกาย ช่องคือกาย, ทวารคือกาย, ทางกาย, กายทวาร.
กุนตฺถุ : (อิต.) ดั้งจมูก. นตฺถุ+กุฏิ หรือ กุฏิ ลบ ฏิ หรือ ฏิก แล้วกลับบทหน้าไว้ หลัง.
กุสา : (อิต.) เชือกที่รัดจมูกม้ากับบังเหียน. กุสฺ สิเลสเน, อ, อิตฺถิยํ อา. ส.กุศ.
ขฏิก : (ปุ.) หญ้า, หญ้าหอม, แฝกหอม, กระพุ่มมือ, ดินสอพอง, ช่องหู. ส.ขฏิก.
ขิปีต : ๑. นป. การจาม, การแสดงการดูถูกโดยวิธีย่นจมูก;
๒. กิต. ขว้างไปแล้ว
คิริคุหา คิริคูหา : (อิต.) ช่องแห่งภูเขา, ถ้ำ.
คุหา : (อิต.) ถ้ำ, คูหา คือช่องที่เว้าเข้าไป. คุหฺ สํวรเณ, อ. เป็น คูหา ก็มี.
ฆานปสาท : (ปุ.) ประสาทของจมูก, ฆาน- ประสาท (เส้นใยสำหรับรับความรู้สึก ทางจมูก).
ฆานโรค : ป. โรคจมูก
ฆานสมฺผสฺส : (ปุ.) การถูกต้องทางจมูก, ฆานสัมผัส.
ฆานายตน : นป. ฆานายตนะ, ฆานประสาท, สื่อกลางที่จมูกรับรู้กลิ่น
ฆานินฺทฺริย : (นปุ.) ความเป็นใหญ่ในการสูดดม อินทรีย์คือจมูก, ฆานินทรีย์ (สิ่งที่เป็น ใหญ่ในหน้าที่ดม).