กุมฺภการ : (ปุ.) คนทำหม้อ, คนปั้นหม้อ, ช่างหม้อ
กุลาลจกฺก : นป. จักรของนายช่างหม้อ, แป้นหมุน, แป้นวงกลมสำหรับปั้นหม้อ
พุทฺธปฏิมากร : (ปุ.) ช่างปั้นพระพุทธรูป, ช่างหล่อพระพุทธรูป.
การุ : (ปุ.) คนมีศิลปะ, ช่าง, นายช่าง. วิ. กโรติ นิมฺมินาติ จิตฺรเลปฺยาทิก มิติ การุ. กรฺ กรเณ, ณุ. ส. การู.
ปน : (อัพ. นิบาต) บางที, บางคราว, ก็, แต่, ก็ แต่ว่า, ฝ่ายว่า, ส่วน, ส่วนว่า, ถึงอย่างนั้น, ถึงกระนั้น, ถึงดังนั้น, อนึ่งโสด, ด้วยแท้, เหมือนอย่างว่า, สำหรับ, แล, เล่า.
คหการ คหการก : (ปุ.) นายช่างผู้ทำเรือน, ช่าง ปลูกบ้าน.
จิตฺตกร : (ปุ.) คนผู้ทำให้วิจิตร, ช่างเขียน, ช่าง วาดเขียน, ช่างวาดภาพ, จิตรกร. วิ. จิตฺตํ กโรตีติ จิตฺตกโร. จิตฺตปุพโพ, กรฺ กรเณ, อ.
การี : (วิ.) ผู้ควรเพื่ออันทำ วิ. อวสฺสํ เม กมฺมํ กาตํ ยุตฺโตสีติ การี. ณี ปัจ. ส. การิ ศิลปิน, ช่าง.
ตุเลติ : ก. ช่าง, ตวง, วัด, เปรียบเทียบ, พิจารณา
สุธาการ : (ปุ.) ช่างปูน, ช่างอิฐ. ส. สุธาชีวิน.
สุธาเลปก : (ปุ.) ช่างปูน, ช่างอิฐ.
กปฺปก : (ปุ.) ช่างตัดผม, ช่างโกนหนวดกัน เครา, ช่างตัดผมโกนหนวด, กัลบก. วิ. กปฺปติ เกเส ฉินฺทตีติ กปฺปโก. กปฺปฺ เฉทเน, ณฺวุ. ส. กลฺปก.
กปฺปชาติก : ค. ผู้เป็นคนตระกูลกัลบก, ผู้เกิดในตระกูลช่างตัดผม
กมฺมนิ : ป. ช่างเขียน
กมฺมารปุตฺต : (ปุ.) บุตรของนายช่างทอง, ช่างทอง. กมฺมารปุตฺโต วุจฺจติ สุวณฺณกาโร. ไตร. ๓๐/๗๑๖.
กุมฺภการสาลา : อิต. โรงช่างหม้อ
กุรฏ : (ปุ.) ช่างหนัง, ช่างฟอก, ช่างรองเท้า?
กุลาล : (ปุ.) ช่างหม้อ วิ. กุ ลลยตีติ กุลาโล. กุปุพฺโพ, ลลฺ อิจฺฉายํ, โณ. กุลติ อตฺตโน สิปฺปํ ปตฺถรตีติ วา กุลาโล. กุลฺ สนฺตาเน, อาโล. ส. กุลาล.
เกสการิก : ค., ป. ผู้แต่งผม; ช่างแต่งผม; กัลบก
เกโสหารก : ป. ช่างตัดผม, กัลบก
โกจฺฉการ : ป. ช่างทำหวี, ช่างทำแปรง
โกรชิก : ค. ผู้วางหน้าเฉยเมย, ผู้ปั้นปึ่ง
ขุรภณฺฑ : นป. ขุรภัณฑ์, เครื่องมือช่างตัดผม
ขุรมทฺที : ค. ช่างตัดผม
โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
ฆฏิการ : (ปุ.) คนทำหม้อ, ช่างหม้อ.
จณฺฑิล : ป. ช่างตัดผม
จมฺมการ : (ปุ.) ช่างฟอกหนัง, คนทำหนัง, ช่างหนัง, ช่างเย็บรองเท้า. วิ. จมฺมํ กโรติ วิการํ อาปาทยตีติ จมฺมกาโร. ณ ปัจ.
จมฺมการ, - การี : ป. ช่างหนัง, ช่างรองเท้า
จิตฺตการ : (ปุ.) ช่างเขียน, ฯลฯ. ณ ปัจ.
จีวรการ : ป. คนทำจีวร, ช่างตัดเย็บจีวร
จุนฺทการ : (ปุ.) ช่างกลึง.
ฉตฺตการ : ป. ช่างทำร่ม, ช่างทำฉัตร
ฏก ฏงฺก : (ปุ.) สิ่ว, เหล็กสกัดสิลา, เครื่องมือ ทำลายหิน, เครื่องมือช่างทำหิน, เครื่อง มือขุดดิน, ขวาน, ขวานเล็กๆ, ดาบ. ฏํกฺ วิทารเณ, อ. แปลง ก เป็น ค เป็น ฏงฺค บ้าง. แปลว่า ความโกรธบ้าง.
ตจฺฉก : (ปุ.) ช่างไม้, ช่างถาก, ช่างไส. ยุ ปัจ.
ตนฺตวาย : (ปุ.) ช่างหูก, ช่างทอ. วิ. ตนฺตํ วายตีติ ตนฺตวาโย. ตนฺตปุพฺโพ, เว ตนฺตุสนฺตาเน, โณ. แปลง เอ เป็น อาย. หรือตั้ง อุยิ ตนฺตุสนฺตาเน. แปลง อุ เป็น ว ทีฆะเป็นวา ลบ อิ เหลือเป็น ยู ลบ ณฺ เหลือ อ รวมเป็น ย.
ตุณฺณวาย : ป. ช่างชุน, ช่างเย็บ
ตุณฺณวาย ตุนฺนวาย : (ปุ.) ช่างเย็บ, ช่างชุน. วิ. ตุนฺนํ อวายิ วายติ วายิสฺสตีติ ตุนฺนวาโย. ตุนฺนปุพฺโพ, วา คนฺธเน ( ตัด แทง) , อ. แปลง อา ที่ธาตุเป็น อาย หรือ ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ก็ไม่ต้องแปลง อา หรือ ตั้ง เว ตนฺตุสนฺตาเน, โณ. แปลง เอ เป็น อาย ศัพท์ต้น แปลง นฺน เป็น ณฺณ.
ทนฺตการ : ป. ช่างงา, ช่างแกะสลักงา
ทิพฺพภูสา : (อิต.) ผ้าอันเป็นทิพย์, ผ้าทิพ, ผ้า ทิพย์, ผ้าทพ ผ้าทิพย์ ชื่อผ้าที่ห้อยตรง หน้าฐานพระพุทธรูป ทำเป็นลายผ้า เมื่อปั้นหุ่นฐานพระพุทธรูป เมื่อเทวัตถุอะไรลงไปตามที่ต้องการก็สำเร็จเป็นผ้าทิพย์พร้อมกับฐานนั้น. อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของพระราชอาสน์พนักพลับพลา.
ทุสฺสิก : ป. ช่างตัดเสื้อผ้า, พ่อค้าผ้า
ธนุการ, - รี : ป. ผู้ทำธนู, ผู้ทำศร, ช่างธนู, ช่างศร
นลการ : ป. ช่างสาน
นลการ นฬการ : (ปุ.) ช่างสาน, ช่างจักสาน, ช่างสานเสื่อ. วิ. นโล เวณุเวตฺตาทีนํ วิกติ, ตํ กโรตีติ นลกาโร นฬกาโร วา.
นหาปิต : ๑. ป. ช่างตัดผม, ช่างโกนหนวด, ผู้อาบให้;
๒. กิต. อาบน้ำให้แล้ว
นฬกลาป : ป. ช่างสาน
นาฬินฺธม : (ปุ.) ช่างทอง วิ. นาฬึ ธมติ มุเข วินฺยาสยิตฺวา มุขวายุนา อคฺคิทีปนตฺถํ สทฺทาปยตีติ นาฬินฺธโม, นาฬิปุพโพ, ธมฺ สทฺเท, อ. ส. นาฑินฺธม.
นินฺเนชก : (ปุ.) ช่างฟอก, ช่างซัก, ช่างหนัง. นิชิ สุทฺธิยํ โสเจยฺยโสธเนสุ วา, ณฺวุ.
ปตฺถทฺธ : (วิ.) ปั้นปึ่ง (วางท่าเฉยไม่พูดจา), เย่อหยิ่ง, ไม่พอใจ, ไม่ใยดีด้วย. ป + ถทฺธ ศัพท์ ซ้อน ตฺ.
ปลณฺฑ : ป. ช่างก่อสร้าง, ช่างอิฐปูน