ช : (วิ.) ผู้เกิด, ผู้บังเกิด, ผู้ยัง...ให้เกิด.
ชตุก : (ปุ.) ค้างคาว. ชตุ วิย ชตุกา. อุปมาเน โก. ส. ชตุก, ชตูกา.
ชตุกา : (อิต.) ค้างคาว. ชตุ วิย ชตุกา. อุปมาเน โก. ส. ชตุก, ชตูกา.
ชคติปฺปเทส : ป. ประเทศแห่งแผ่นดิน, ถิ่นที่บนพื้นโลก, ภูมิประเทศ
ชคติรห : ป. ต้นไม้, สิ่งที่ขึ้นบนแผ่นดิน
ชตุกฺก : (วิ.) ชั่วช้า ?
ชตุมฏฺฐก : นป. สิ่งที่ปิดด้วยครั่ง, สิ่งที่ประทับครั่ง
ชตุมณิ : ป. ไฝ, ขี้แมลงวัน
ชเนตฺติก : (ปุ.) แปลเหมือน ชนก. ชนฺ ธาตุ เณ ปัจ. เหตุ ติ ปัจ. ซ้อน ตฺ ก สกัด.
ชเนติ : ก. ให้เกิด, ให้กำเนิด, ผลิตผล
ชเนตุ : ป. ผู้ให้เกิด, ผู้ผลิต
ชโนสภ : ป. ผู้นำหมู่ชน, ผู้เป็นใหญ่ในหมู่ชน
ชปติ, ชปฺปติ : ก. บ่น, พูดอุบอิบ, พูดพึมพำ; ท่องบ่น, สาธยาย
ชหิติกา : อิต. หญิงผู้ซึ่งถูกทอดทิ้ง
ภิสก ภิสกฺก ภิสช : (ปุ.) แพทย์, อายุรแพทย์, หมอ. วิปฺพฺโพ, สชฺ วิสชฺชะน, อ. แปลง วิ เป็น ภิ ศัพท์ ที่ ๑ แปลง ช เป็น ก ที่ ๒ แปลง ก เป็น กฺก แปลว่า ศัลยแพทย์ ก็มี.
อาหารช : (วิ.) เกิดแต่อาหาร วิ. อาหารสฺมา ชาโตติ อาหารโช. กฺวิ ปัจ. ใน อรรถชาต. อาหารสฺมา ชาโต อาหารโช. ปัญจมีตัป. แปลง ชาต เป็น ช.
นกฺขตฺตราช : (ปุ.) นักขัดตราช ชื่อของ พระจันทร์ชื่อ ๑ ใน ๑๔ ชื่อ, พระจันทร์, ดวงจันทร์, เดือน.
ปูชนีย ปูชเนยฺย : (วิ.) ผู้ควรซึ่งอันบูชา, ฯลฯ, ควรบูชา, ควรนับถือ, น่าบูชา, น่านับถือ. วิ. ปูชนํ อรหตีติ ปูชนีโย ปูชเนยฺโย วา. อีย, เอยฺย ปัจ.
สมาช : (นปุ.) การประชุม, ที่เป็นที่ประชุม, ที่ประชุม, สมาคม. สํ อา ปุพฺโพ, อชฺ คติยํ, อ. ส. สมาช.
เสทช : (ปุ.) สัตว์เกิดแต่เหงื่อไคล, สัตว์เกิดแต่น้ำเน่า เช่น หนอนเป็นต้น. เสทกรณตฺตา อุสฺมา เสโท, ตโต ชาตา เสทชา. เป็น สํเสทช บ้าง.
อเนกช : (ปุ.) สัตว์ผู้เกิดมิใช่หนเดียว, นก.ส. อเนกช.
กรุณาคุณช : ค. อันเกิดจากคุณแห่งความกรุณา
กุลช : (ปุ.) ชนผู้เกิดในตระกูล, คนมีตระกูล.
โกสช : (วิ.) เกิดจากคลัง. ฯลฯ
ขคปติ ขคราช : (ปุ.) นกผู้เป็นใหญ่, นกผู้ราชา, ครุฑ (นกผู้เป็นพาหนะของพระวิษณุ).
ขคาทิพีช : (นปุ.) ฟองแห่งสัตว์มีนกเป็นต้น.
จิตฺตช จิตรช : (วิ.) เกิดแต่จิต วิ. จิตฺตโส ชาโต จิตฺตโช. เกิดในจิต วิ. จิตฺตสฺมึ ชาโต จิตฺตโช. กฺวิ ปัจ. นามกิตก์ จะตอบเป็น ปญจมีตัป. สัตตมีตัป. ก็ได้. โส ปัจ. ลงใน ปัญจมีวิภัติ.
ชนี ชเนตฺตี ชเนตฺติกา : (อิต.) แปลเหมือน ชนนี. อี และ อา อิต.
ชหติ, ชหาติ : ก. ละ, เลิก, ทอดทิ้ง, ผละหนี
ชุ : (วิ.) รุ่งเรือง, สว่าง, ส่องสว่าง, กระจ่าง, ขาว, ใส, งาม, บริสุทธิ์. ชุ ทิตฺติยํ, อ.
เช : (อัพ. นิบาต) แม่, แนะสาวใช้. คำสำหรับ นายเรียกสาวรับใช้.
ตนุช : (ปุ.) ชนผู้เกิดแต่ตน. ลูก, ลูกชาย. วิ. ตนุมฺหา ชาโต ตนุโช. ตนุ+ชนฺ+กฺวิ ปัจ.
ถิรช ถีรช : (ปุ. นปุ.) เกสรของหญิง,ประจำเดือนของหญิง,โรคประจำเดือนของหญิง,ระดูของหญิง.
ทิวิช : (ปุ.) สัตว์ผู้เกิดในโลกทิพย์, สัตว์ผู้ผุด เกิดในโลกทิพย์, ชาวสวรรค์.
ปพฺพตราช : ป. ราชาแห่งภูเขา, จอมแห่งภูเขา, ขุนเขา หมายถึงภูเขาหิมาลัย
ปูชเนยฺย : ค. ผู้ควรบูชา
พาหุช : (ปุ.) กษัตริย์. พฺรหฺมพาหุโต ชาตตฺตา พาหุโช (เกิดจากแขนพระพรหม).
ภิงฺคราช : (ปุ.) ตองแตก ชื่อต้นไม้ เถาใบเป็นสองแฉก. วิ. ภมตีติ ภิงฺโค วุจฺจติ ภมโร. ตพฺพณฺรํ กตฺวา เตสํ รญฺเชตีติ ภิงฺคราโช.
ภูตเวชฺช : (ปุ.) หมอผี.
มหาภิสก มหาภิสกฺก มหาภิสช : (ปุ.) แพทย์, อายุรเวช, หมอ, หมอยา.
ลปนช : ป. ฟัน
วาณิชฺช : นป. ความเป็นพ่อค้า, การค้าขาย
วิรช : ค. หมดธุลี, ปราศจากธุลี
เวชฺช : ป. ผู้รู้; หมอ
สลฺลนีหรเวชฺช สลฺยเวชฺช สลฺลเวช : (ปุ.) หมอผ่าตัด, ศัลยแพทย์.
สลฺลเวชฺช : ป. หมอผ่าตัด
สเสทช : ค. ผู้เกิดในของชื้นแฉะโสโครก
โสตเวชฺช : (ปุ.) หมอตรวจหู, หมอรักษาหู, โสตแพทย์.
อคฺคราช : (ปุ.) พระราชาผู้เลิศ, พระอัครราชา.