อุปสฺสย : (ปุ.) วิหารเป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่. อุปปุพฺโพ, สี สเย, อ, ซ้อน สฺ.
กปฺปกฺขย : (ปุ.) ความสิ้นไปแห่งกัป, ขัยกัป, ขัยกัลป์. วิ. กปฺโป จ โส ขโย จาติ กปฺปกฺขโย. ซ้อน กฺ.
กปฺปฏ : (ปุ.) ผ้าอันบัณฑิตเกลียด, ผ้าเปื้อน, ผ้าขี้ริ้ว. วิ. กุจฺฉิโต ปโฏ กปฺปโฏ. ลบ จฺฉิต แปลง กุ เป็น กา รัสสะ ซ้อน ปฺ หรือ ตั้ง กปฺปฺ ธาติในความตรึก อฏปัจ.
กปิฏฺฐ กปิตฺถ : (ปุ.) มะขวิด, ต้นมะขวิด. วิ. กวิมฺหิ วานเร ติฏฐตีติ กปิฏโฐ. กวิปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตติยํ, กฺวิ, วสฺส โป, ฏฺสํโยโค. ศัพท์หลัง แปลง ฐ เป็น ถ ซ้อน ต.
กพฺพ : (นปุ.) กาพย์ ชื่อคำของกวี กลอน โคลง ฉันท์เป็นต้น. ไทยใช้หมายถึงคำประพันธ์ ชนิดหนึ่ง คล้ายฉันท์ แต่ไม่บังคับครุ, ลหุ. กุ สทฺเท, โณ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ. ส. กาวฺย
กมฺมญฺญ : (นปุ.) ความควรในการงาน, ความดีในการงาน, วิ. กมฺมนิ สาธุ กมฺมญฺญํ. ณฺยปัจ. ลบ อิ ที่ นิ ลบ ณฺ รวมเป็น นฺย แปลงเป็น ญ ซ้อน ญฺ หรือแปลง ญ เป็น ญฺญ หรือแปลง นฺย เป็น ญฺญ. ส. กรฺมฺมณฺย.
กมฺมฎฐ าน : (นปุ.) การตั้งอยู่แห่งการงาน, ที่ตั้งแห่งการงาน, อารมณ์เป็นที่ตั้งแห่ง การงาน, การงานอันเป็นที่ตั้งแห่งการบรรลุคุณวิเศษ, กัมมัฏฐาน กรรมฐานชื่อ ของการทำงานทางใจ มี ๒ อย่าง คือ สมถกัมมัฏฐาน ๑ วิปัสสนากัมมัฏฐาน ๑. วิ. กมฺมสฺส ฐานํ กมฺมฏฺฐานํ. กมฺมํ คุณวิเสสคมนสฺส ฐานํ กมฺมฏฐานํ วา. ซ้อน ฏฺ.
กมฺมสฺสก : (นปุ.) กรรมอันเป็นของตน, กรรม เป็นของตน, กรรมของตน. วิเสสนุต. กัม. กมฺม+สก ซ้อน สฺ คำว่าของ เป็นคำแปล ของคำ สก.
กุฏนฺนฏ : (นปุ.) หญ้าแห้วหมู. กุฏ+นฏ ซ้อน นฺ.
กุตฺตก : (นปุ.) เครื่องลาดขนสัตว์ (พอนาง ๑๖ คนฟ้อนรำได้), ที่เป็นที่ฟ้อน. วิ. กโรนฺติ เอตฺถ นจฺจนฺติ กุตฺตกํ. กรฺ+ต ปัจ. แปลง กรฺ เป็น กุ ซ้อน ตฺ ก สกัด. อภิฯ ว่า แปลง อ ที่ ก เป็น อุ แปลง รฺ เป็น ตฺ.
กุตฺติ : (อิต.) การทำ. กรฺ+ติ ปัจ. แปลง กรฺ เป็น กุ ซ้อน ตฺ รูปฯ ๖๔๕.
กุโต : (อัพ. นิบาต) แต่...ไหน, จาก...ไหน, แต่ ไหน, จากไหน, แต่ที่ไหน, จากที่ไหน, เพราะเหตุไร. กึ ศัพท์ โต ปัจ. แปลง กึ เป็น กุ. กุตฺต (นปุ.?) การทำ. กรฺ+ต ปัจ. แปลง กรฺ เป็น กุ ซ้อน ตฺ.
กุมฺม กุมฺมก : (ปุ.) เต่า, เต่าตัวผู้. วิ กุจฺฉิโต อูมิเวโค อสฺสาติ กุมฺโม. ณ ปัจ. ตทัส สัตถิตัท. ลบ จฺฉิต อู และ อิที่มิ เหลือเป็น มฺ ลบ ณฺ เหลือ อ รวมเป็น ม ซ้อน มฺ. กโรตีติ วา กุมฺโม. กรฺ กรเณ, รมฺโม. แปลง กรฺ เป็น กุ. กุรตีติ วา กุมฺโม. กุรฺ สทฺเท, รมฺโม. แปลว่า เต่าเหลือง เต้าน้ำ กระบอกน้ำ หม้อ หม้อน้ำ ก็มี.
กุลตฺถ : (ปุ.) พืชที่ตั้งอยู่ในการพัน, พืชที่เลื้อย- พัน, ถั่วพู. กุล+ถ ซ้อน ตฺ ถ มาจาก ฐา ธาตุ แปลง ฐ เป็น ถ.
โกฏฺฏก : (วิ.) ผู้ตี, ผู้ตอก, ผู้ทุบ, ฯลฯ. กุฏฺ อาโกฏนาทีสุ, ณฺวุ. ซ้อน ฏฺ.
โกณฑญฺญ : (ปุ.) โกณฑัญญะ ชื่อหัวหน้า เบญจวรรคีย์ผู้ไปเฝ้าปฏิบัติพระมหาบุรุษ ขณะทรงบำเพ็ญทุกกรกิริยา เมื่อพระมหาบุรุษตรัสรู้แล้ว ได้ฟังปฐมเทสนา ได้สำเร็จเป็นพระอริยบุคคลเป็นองค์แรก วิ. กุณฺฑนิยา อปจฺจํ โกณฺฑญฺโญ. กุณฺฑนิยา วา ปุตฺโต โกณฺฑญฺโญ. ณฺยปัจ. ลบ อี ที่ นี เหลือเป็น นฺ ลบ ณฺ รวมเป็น นยฺ แปลง นฺย เป็น ญ ซ้อน ญฺ หรือแปลง นฺย เป็น ญฺญ พฤทธิ์ อุ เป็น โอ หรือ รัสสะ อี เป็น อิ แล้วลบ อิ ลบ ณฺ เหลือเป็น นฺย แล้ว แปลงดังกล่าวแล้ว รูปฯ ๓๕๔-๕.
ขลฺลาฏ : (ปุ.) คนหัวล้าน วิ. นิกฺเกสตฺตา ขํ ตุจฺฉํ สีสํ ลาตีติ ขลฺลาโฏ. ขปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อโก. ขล ขลนสญฺจเยสุ วา. ซ้อน ลฺ เป็น ขลฺลาต บ้าง.
ขุปฺปิปาสา : (อิต.) ความหวังเพื่ออันกินและ ความหวังเพื่ออันดื่ม, ความหวังในอันกิน และความหวังในอันดื่ม, ความปรารถนาใน อันดื่ม, ความหิวและความกระหาย. วิ. ขุทฺทาสา จ ปิปาสา จ ขุปฺปิปาสา. ลบ บท หน้า เหลือ ขุ ซ้อน ปุ.
คทฺทภณฺฑ : (ปุ.) มะสัง ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง คทฺรภณฺฑปฺปมาณผลตาย คทฺทภณฺโฑ. ลบ ร ซ้อน ทฺ.
คายตฺติ : (อิต.) การขับ, ฯลฯ. ติ ปัจ. ซ้อน ตฺ.
จตุตฺถ : (วิ.) ที่สี่ วิ. จตุณฺณํ ปุรโณ จตุตฺโถ. จตุ+ถ ปัจ. ซ้อน ตฺ.
จมฺม : (นปุ.) โล่ ชื่อเครื่องปกป้องศัตรา มีรูป ร่างต่างๆ จรฺ คติ-ภกฺขเณสุ, โม. ลบ รฺ ซ้อน มฺ หรือแปลง รฺ เป็น มฺ หรือตั้ง จมุ อทเน, อ. ซ้อน มฺ.
จุทฺทส โจทฺทส : (ไตรลิงค์) สิบสี่ วิ. จตฺตาโร จ ทสา จาติ จุทฺทส โจทฺทส วา. จตูหิ วา อธิกา ทสาติ จุทฺทส โจทฺทส วา. จตุ+ทส ลบ ตุ แปลง จ เป็น จุ, โจ ลง โย วิภัตินาม ลบโยรูปฯ๒๕๖,๓๙๑. โมคฯสมาสกัณฑ์ ๑๐๐ ว่าแปลง จตุ เป็น จุ, โจ ซ้อน ทฺ เป็น จุทส โจทส โดยไม่ซ้อนบ้าง.
โจตฺตาลีส โจตฺตาฬีส : (อิต.) สี่สิบสี่. จตุ+ ตาลีส. รูปฯ ๒๕๖ แปลง จ เป็น จุ, โจ ลบ ตุ ซ้อน ตฺ. โมคฯ สมาสกัณฑ์ ๑๐๐ แปลง จตุ เป็น จุ, โจ.
ฉฏฺฐ ฉฏฺฐม : (วิ.) ที่หก วิ. ฉนฺนํ ปูรโณ ฉฏฺโฐ ฉฏฺฐโมวา.ฉ ศัพท์ ฐ ปัจ. ปูรณตัท. ซ้อน ฏฺ ศัพท์หลัง แปลง ฉฏฺฐ เป็น ฉฏฺฐม รูปฯ ๓๙๑. สัททนีติว่า ลง ม สกัด. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๕๔ ลง ฎฺฐ, ฏฺฐม ปัจ.
ฉิคฺคล : (นปุ.) รู, ช่อง, โพรง, ขุม, หลุม, บ่อ. วิ. ฉินฺทิตฺวา คจฺฉตีติ ฉิคฺคลํ. ฉิ+คมฺ+อ ปัจ. แปลง ม. เป็น ล ซ้อน คฺ.
ชชฺชร : (วิ.) แก่มาก, เก่ามาก, คร่ำคร่า, ชำรุด, ทรุดโทรม. ชรฺ วโยนิมฺหิ, อ. เท๎วภาวะ ช ซ้อน ชฺ
ชเนตฺติก : (ปุ.) แปลเหมือน ชนก. ชนฺ ธาตุ เณ ปัจ. เหตุ ติ ปัจ. ซ้อน ตฺ ก สกัด.
ชรคฺคว : (ปุ.) โคแก่, วัวแก่. ชร+โค แปลง โอ อว ซ้อน ค.
เชยฺย : (วิ.) พึงชนะ วิ. เชตพฺพนฺติ เชยฺยํ. ชิ ธาตุ ณฺย ปัจ. วิการ อิ เป็น เอ ซ้อน ยุ.
ญตฺติ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องยังสงฆ์ให้รู้, คำ ประกาศให้สงฆ์ทราบ ( เพื่อทำกิจของ – สงฆ์ร่วมกัน ), การบอกให้รู้, การประกาศ (บอกให้รู้ให้เข้าใจ), ญัตติ (คำเสนอให้พิ- จารณา เพื่อลงมติ). ญา ธาตุ ติ ปัจ. รัสสะ ซ้อน ตฺ หรือแปลง ติ เป็น ตฺติ ไทยใช้ญัตติในความหมายว่า หัวข้อ, หัว ข้อโต้วาที.
ฏฏฺฏรี : (ปุ.) คนตลก, คนตลกคะนอง, จำอวด ( การแสดงเป็นหมู่ โดยใช้ถ้อยคำทำให้ ขบขัน). ฏลฺ เวลมฺเพ, อี. เทวภาวะ ฏ ซ้อน ฏฺ แปลง ล เป็น ร.
ตทฺธิต : (นปุ.) ตัทธิต ชื่อบาลีไวยากรณ์แผนก หนึ่ง ลงปัจ. ไว้ที่ศัพท์หน้าแทนศัพท์หลัง ที่ลบ เพื่อทำคำพูดให้สั้นลง วิ. ตสฺส อตฺสฺส หิตํ ตทฺธิตํ (ปจฺจยชาตํ) แปลว่า ปัจจัยเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่เนื้อความนั้น. เป็น ฉ.ตัป. แปลง ห เป็น ธ ซ้อน ทฺ.
ตรจฺฉ : (ปุ.) เสือดาว, หมาป่า, หมาไน. ตรฺ ตรเณ, โฉ. แปลง ฉ เป็น จฺฉ หรือไม่แปลง ซ้อน จฺ ก็ได้.
ติกฺข ติกฺขิณ ติขิณ : (วิ.) กล้า, แข็ง, กล้า แข็ง, เข้มแข็ง, แหลม, เฉียบแหลม, คม, คมกล้า. ติชฺ นิสาเน. ศัพท์ต้น ข ปัจ. แปลง ชฺ เป็น กฺ ศัพท์ที่ ๒ และ ๓ อิน ปัจ. แปลง น เป็น ณ แปลง ชฺ เป็น ขฺ ศัพท์ที่ ๒ ซ้อน กฺ.
ติปฺป ติพฺพ : (วิ.) ล้ำ, ยิ่ง, นักหนา, หนักหนา, ( มากยิ่ง ยิ่งนัก), ทึบ ( ป่า....) วิ. ตรติ อติกฺกมตีติ ติปฺปํ ติพฺพํ วา. ตรฺ ตรเณ อ. แปลง อ เป็น อิ ร เป็น พ ซ้อน พฺ ศัพท์ หน้าแปลง พ เป็น ป ซ้อน ปฺ.
ติโรกฺการ : (ปุ.) การทำให้ต่ำ, ฯลฯ. ดู ติรกฺการ. ติรปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, โณ แปลง อ ที่ ร เป็น โอ ซ้อน กฺ หรือ วิ. ติโรชานกรณํ ติโรกฺกาโร.
ตุรุกฺข : (ปุ.) มดยอบ, กำยาน, วิ. ตุรโต ชาโต ตุรุกฺโข. ตรุ ศัพท์ ข ปัจ. แปลง อ ที่ ต เป็น อุ ซ้อน ก.
ทตฺติ : (อิต.) อันให้, การให้, เครื่องบูชา. ทา ธาตุ ติ ปัจ. รัสสะ แปลง ติ เป็น ตฺติ หรือ ซ้อน ตฺ หรือลง ตฺติ ปัจ. ส. ทตฺติ.
ทพฺพน : (นปุ.) ความเขลา, ฯลฯ. ทุ. กุจฺฉิต คมเน, ยุ. พฤธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ
ทพฺพี : (อิต.) ช้อน ทัพพี ทรพี (เครื่องตักข้าวตักแกงรูปร่างคล้ายช้อน แต่ใหญ่กว่า). วิ. โอทนาทีนิ อเนน ทาเรนฺตีติ ทพฺพี. ทรฺ วิทารเร, โพ, รสฺส โพ. ทุ คติยํ, วา, โพ. พฤธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว ว เป็น พ หรือแปลง อุ เป็น อ ซ้อน พฺ เป็น ทพฺพิ ก็มี. ส. ทรฺพิ.
ทยฺย : (ปุ.) คนไทย (เจริญรุ่งเรืองด้วยความดี). ทุ วุฒฒิยํ, โณ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อย ซ้อน ย.
ทฺวารปาล ทฺวารปาลก ทฺวารฏฺฐ : (ปุ.) คนผู้รักษาประตู, คนเฝ้าประตู, ยามประตู, นายประตู. ศัพท์หลัง ทฺวาร+ฐ ซ้อน ฏฺ.
ทิกฺก : (ปุ.) ช้างหนุ่ม, ช้างรุ่น. อาทิ+กร ลบ อา ซ้อน ก.
ทิกฺกร : (ปุ.) เด็กหนุ่ม, เด็กรุ่น. อาทิ+ กร ลบ อา ซ้อน ก.
ทุกฺกร : (วิ.) อัน...ทำได้โดยยาก วิ . ทุกฺเขน กรียตีติ ทุกฺกรํ. อัน...พึงทำได้โดยยาก วิ. ทุกฺเขน กริตพฺพนติ ทุกฺกรํ. ทุกฺขปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, ข ปจฺจโย. ลบ ข ซ้อน กฺ.
ทุคฺค : (นปุ.) ที่อัน...ไปได้โดยยาก, ความยาก, ช่องแคบ, กำแพง, ป้อม, คู, หอรบ, ห้วง น้ำ, หล่ม อุ. ปงฺคทุคฺค หล่มคือเปลือกตม. ทุกฺข+คมฺ+อ ปัจ. ลบ กฺข และ มฺ ซ้อน คฺ. ส. ทุรค.
ทุคฺคต. : (ปุ.) คนถึงแล้วซึ่งความยาก, คนถึงแล้วซึ่งยาก, ฯลฯ, คนเข็ญใจ. วิ. ทุกขํ คโต ทุคฺคโต. ลบ กฺข ซ้อน ค.
ทุคฺคติ : (อิต.) คติชั่ว วิ. ทุฎฺฐุ คติ ทุคฺคติ. ลบ ฎฺฐุ ซ้อน คฺ. คติอันบัณฑิตติเตียน วิ. กุจฺฉิตา คติ ทุคฺคติ. ลบ จฺฉิต แปลง กุ เป็น ทุ, การไปชั่ว, ความเป็นไปชั่ว, ภูมิเป็นที่ไป ชั่ว. ทุ+คติ ซ้อน คฺ. ที่เป็นที่ไปแห่งทุกข์, ที่เป็นที่ถึงซึ่งทุกข์. วิ. ทุกขสส คติ ทุคคติ. ลบ กขฺ ซ้อน ค. ภูมิเป็นที่ตั้งแห่งทุกข์ วิ. ทุกฺขสฺส คติ ปติฏฺฐา ทุคฺคติ, ทุคคติ (ภพชั่ว). ส. ทุรฺคติ.
ทุทฺทท : (วิ.) อัน...ถวายได้โดยยาก, อันให้ได้โดยยาก. ทุกฺข+ทท ลบ กฺข ซ้อน ทฺ