Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ญาณ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ญาณ, 81 found, display 1-50
  1. ญาณ : (ปุ. นปุ.) ความรู้, ปรีชา, ปัญญา. วิ. ชานนํ ญาณํ. ธรรมชาตเป็นเครื่องรู้ วิ. ชานาติ เอเตนาติ ญาณํ. ธรรมชาติผู้รู้ อริยสัจสี่ วิ. จตุสจฺจํ ชานาตีติ ญาณํ. ญา+ยุ ปัจ.
  2. ญาณจกฺขุ : (นปุ.) ญาณจักขุได้แก่อรหัตต – มัคคญาณ.
  3. ญาณจริยา : (อิต.) ความประพฤติเพื่อความรู้. ความประพฤติเพื่อความรู้ชื่อว่าญาณจริยา เพราะอรรถว่า ประพฤติไม่มีราคะไม่มี โทสะและไม่มีโมหะ.
  4. ญาณชาล : นป. ข่ายคือญาณ, ข่ายคือความรู้
  5. ญาณทสฺสน : (นปุ.) ความรู้และความเห็น, ความเห็นด้วยญาณ, ความเห็นด้วยปัญญา, ญาณทัสสนะ. คำว่า ญาณทัสสนะ เป็นไป ในอรรถ ๖ อย่างคือ ผลมีโสดาบัตติผลเป็นต้น วิปัสสนามีอนิจจานุปัสสนาเป็นต้น ทิพพจักขุ ตาทิพย์ สัพพัญญุตา ความเป็นผู้รู้ธรรมทั้งปวง ปัจจเวกขณญาณ ญาณเป็นเครื่อง พิจารณา และ มัคคญาณมีโสดาบัตติมรรค เป็นต้น.
  6. ญาณทสฺสนวิสุทฺธิ : (อิต.) ความบริสุทธิ์แห่ง ความรู้และการเห็นพระนิพพาน (เหมือน เห็นด้วยตาเนื้อ), ปัญญาที่บริสุทธิ์แห่ง ญาณทัสสนะได้แก่ญาณในอริยมรรคทั้ง ๔.
  7. ญาณปถ : ป. คลองแห่งญาณ, แนวทางแห่งความรู้
  8. ญาณผุสนา : (อิต.) ธรรมชาติอันบุคคลพึงถูก ต้องคือญาณ, ความถูกต้องคือญาณ,ความถูกต้องด้วยญาณ.
  9. ญาณพนฺธุ : ป. พวกพ้องญาณ
  10. ญาณวตฺถุ : นป. ญาณวัตถุ, หัวข้อแห่งญาณ
  11. ญาณวาท : ป. การพูดถึงเรื่องญาณ
  12. ญาณวิโมกฺข : ป. ความหลุดพ้นเพราะอาศัยญาณ
  13. ญาณวิเสส : ป. ญาณวิเศษ
  14. ญาณกรณ, - ณี : ค. อันทำให้เข้าใจแจ่มแจ้ง, อันทำให้รู้แจ้ง
  15. ญาณทสฺสี : นป. ผู้มีความเห็นอันแจ่มแจ้ง
  16. ญาณวิปฺปยุตฺต : (วิ.) (จิต) ไม่ประกอบด้วย ปัญญา, ปราศจากปัญญา.
  17. ญาณสมฺปยุตฺต : (วิ.) ประกอบด้วยปัญญา.
  18. อาสยานุสยญาณ : (นปุ.) ญาณอันเป็นไป ด้วยสามารถแห่งความรู้ซึ่งฉันทะเป็น ที่มา นอนและธรรมเป็นที่มานอนตาม, ญาณ (ความรู้) ในฉันทะเป็นที่มานอน และกิเลส อันนอนเนืองของสัตว์ ท., ญาณเป็นเครื่อง รู้ซึ่งฉันทะเป็นที่มานอน และกิเลสเป็นที่มา นอนตาม, ปัญญาหยั่งรู้ อัธยาศัยและอนุสัย ของสัตว์ท.
  19. จตุตฺถมคฺคญาณ : (นปุ.) ญาณ (ความรู้) อัน สัมปยุตแล้วด้วย มรรคที่สี่. เป็น ต.ตัป. มี วิเสสนบุพ.กัม.เป็นท้อง.
  20. อตีตสญาณ : (นปุ.) ความรู้ในส่วนอดีต.อตีต+อํส+ญาณ.
  21. เจโตปริยญาณ : นป. ญาณกำหนดรู้แห่งจิตใจ (ของผู้อื่น), ความรู้จักทายใจคน
  22. นิพฺพิทาญาณ : (นปุ.) ความรู้ในความเบื่อ หน่าย, นิพพิทาญาณ คือความรู้ทำให้ เกิดความเบื่อหน่ายในกองทุกข์.
  23. ปุพฺเพนิวาสญาณ : (นปุ.) ญาณเป็นเครื่องรู้ซึ่งขันธปัญจกอันตนและสัตว์อื่นเคยอาศัยอยู่แล้วในกาลก่อน. ฯลฯ.
  24. ปุพฺเพนิวาสานุสฺสติญาณ : (นปุ.) ความรู้เป็นเครื่องระลึกได้ซึ่งขันธปัญจกอันตนและสัตว์อื่นเคยอาศัยอยู่ในกาลก่อน, ฯลฯ. ศัพท์ทั้งสองนี้ เป็นชื่อของญาณที่ ๑ ในญาณ ๓ ซึ่งพระมหาบุรุษทรงบรรลุในยามแรกแห่งราตรีวันตรัสรู้.
  25. พุทฺธญาณ : นป. ญาณของพระพุทธเจ้า, ความรู้ที่กว้างขวางไม่มีขอบเขตจำกัด
  26. มคฺคามคฺคญาณ : (นปุ.) ความรู้เป็นเครื่องเห็นว่าทางหรือภาวะมิใช่ทาง, ญาณเป็นเครื่องเห็นว่าทางหรือมิใช่ทาง.
  27. สพฺพฺญฺญุตญาณ สพฺพญฺญุตฺตญาณ : (นปุ.) ความรู้แห่งความเป็นแห่งสัตบุรุษผู้รู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้, ความรู้แห่งความเป็นแห่งพระพุทธะผู้ทรงรู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้, ญาณแห่งความเป็นพระพุทธะผู้ทรงรู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้. ว. สพฺพฺญฺญุตาย สพฺพฺญฺญุตฺตสฺส วา ญาณํ สพฺพฺญฺญุตญาณํ สพฺพ ฺญฺญุตต-ฺญฺาณํ วา. ศัพท์ต้น รัสสะ อา ที่ ตา เป็น อ. ญาณคือความเป็นแห่งพระสัพพัญญู วิ.สพฺพ ฺญฺญุตา เอว ฺญฺาณํ สพฺพ ฺญฺญุต ฺญฺาณํ. อถวา, สพฺพ ฺญฺญุตฺตํ เยว ฺญฺาณํ สพฺพ ฺญฺ-ญุตฺต ฺญฺาณํ.
  28. สมฺมสนญาณ : (นปุ.) ความรู้ในการพิจารณารูปและนามเป็นไตรลักษณ์, ญาณในการพิจารณารูปและนามโดยความเป็นไตรลักษณ์. การกำหนดขันธ์ ๕ คือ ...อาตยนะ ภายใน ๖ คือ ... และชาติโดยความเป็นของไม่เที่ยงโดยความเป็นทุกข์โดยความเป็นอนัตตา เรียกว่าสัมมสนญาณ ไตร. ๓๑ ข้อ ๙๙.
  29. สวิญฺญาณ : (วิ.) เป็นไปกับด้วยวิญาณ, มีวิญญาณ, มีใจ, มีใจครอง.
  30. โสมนสฺสสหคตญาณสมฺปยุตฺตภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งเจตนาอันสหรคตแล้วด้วยโสมนัสและเจตนาอันสัมปยุตแล้วด้วยญาณ.
  31. อญฺญาณณก : นป. ดู อญฺญาณ
  32. อนาคตสญาณ : (นปุ.) ความรู้ในส่วนอันยังไม่มาถึง, ความหยั่งรู้เหตุการณ์อันยังไม่มาถึง, ญาณหยั่งรู้เหตุการณ์ล่วงหน้า.
  33. อรหตฺตมคฺคญาณาสิ : (ปุ.) ดาบคือญาณอันสัม-ปยุตแล้วด้วยมรรคอันเป็นไปในพระอรหัต.
  34. อวิญฺญาณ : (วิ.) มีวิญญาณหามิได้, ไม่มีวิญญาณไม่มีชีวิต, ไม่มีจิตใจ.น+วิญฺญาณกสกัด.
  35. อุทยพฺพยานุปสฺสนญาณ อุทยพฺพยานุปสฺสนาญาณ : (นปุ.) ญาณพิจารณาเห็นทั้งความเกิดทั้งตามดับ, ปรีชาคำนึงเห็นทั้งความเกิดทั้ง ความดับ, ปรีชาคำนึงเห็นความเกิดและ ความดับ, ปัญญาพิจารณาเห็นความเกิด และความดับ.
  36. กายวิญฺญาณ : นป. ความรู้สึกในกายสัมผัส, ความรู้แจ้งอารมณ์ด้วยกายคืออาการที่รู้ว่าสัมผัส
  37. โกธปญฺญาณ : (วิ.) มีความโกรธปรากฏ, มีความแค้นเคือง, มีความมุทะลุ.
  38. โกธปญฺญาณ, ญาน : ค. ผู้มีความโกรธเป็นเครื่องปรากฏ, ผู้โกรธง่าย
  39. โคตฺรภูญาณ : นป. ความรู้ที่กำลังพ้นเขตของปุถุชนและกำลังย่างขึ้นสู่เขตพระอริยเจ้า
  40. ฆานวิญฺญาณ : นป. การรับรู้กลิ่น
  41. จกฺขุวิญฺญาณ : นป. จักษุวิญญาณ, ความรู้ที่อาศัยตาเกิดขึ้น
  42. ชิวฺหาวิญฺญาณ : นป. ความรู้สึกทางลิ้น, ความรับรู้รส
  43. ญาณ : (วิ.) มีความรู้, มีปัญญา. อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  44. ปญฺญาณ : นป. ความรู้ทั่ว, ความปรากฏ
  45. ปเทสญาณ : นป. ความรู้ในธรรมเพียงบางส่วน, ความรู้ที่มีขอบเขตจำกัด
  46. ภิญฺญาณ : (นปุ.) เครื่องหมาย, รอย.
  47. มโนวิญฺญาณ : (นปุ.) ความรู้แจ้งด้วยใจ, ความรู้ทางใจ, ความรู้ด้วยใจ.
  48. วิญฺญาณ : นป. ความรู้แจ้ง, ความรู้สึกตัว
  49. วิญฺญาณฏฺฐิติ : อิต. การตั้งอยู่ของวิญญาณ
  50. สญฺญาณ : นป. การให้รู้, เครื่องหมาย
  51. [1-50] | 51-81

(0.0168 sec)