Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ญาติ , then ญาต, ญาติ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ญาติ, 40 found, display 1-40
  1. ญาติ : (วิ.) อันเขารู้, อันเขาพึงรู้. วิ.ญาตพฺโพติ ญาติ. ญา ธาตุ ติ ปัจ.
  2. ญาตก, ญาติ : ป. ญาติ, พี่น้อง, คนสนิท
  3. ญาติ : (ปุ.) คนผู้เป็นญาติ, ญาติชาย, พี่น้อง, ญาติ.
  4. ญาติสาโลหิต : (ปุ.) พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วย เลือด, พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วยสายเลือด, พี่น้องผู้ร่วมสายเลือด, ญาติสาโลหิต, ญาติสายโลหิต ( ญาติที่ลืมสกุลมาโดยตรง ญาติสายโลหิตเดียวกัน ). คำ ญาติ ทาง ศาสนาหมายถึงคนที่ไม่ใช่สายเลือดเดียว กัน ก็ได้ ดังบาลีว่า วิสฺสาสาปรมา ญาติ ความคุ้นเคยชื่อว่าเป็นญาติอย่างยิ่ง. (ญาติ สนิท).
  5. ญาติกถา : อิต. การพูดถึงญาติพี่น้อง
  6. ญาติธมฺม : ป. ญาติธรรม, หน้าที่ของญาติพี่น้อง
  7. ญาติปริวฏฺฏ : นป. ความหมุนเวียนแห่งญาติพี่น้อง, เครือญาติ
  8. ญาติเปต : ป. ญาติที่ล่วงลับไปแล้ว, ญาติที่ตายแล้ว
  9. ญาติวฺยส : นป. ความพินาศแห่งญาติ, การเสื่อมแห่งญาติ
  10. ญาติสงฺคห : ป. การสงเคราะห์ญาติ
  11. ญาติสงฺฆ : ป. หมู่ญาติ, คณะญาติ
  12. ญาติสงฺฆปุรกฺขต : (วิ.) ผู้อันหมู่แห่งญาติแวด ล้อมแล้ว, ผู้อันหมู่แห่งญาติห้อมล้อมแล้ว.
  13. ญาติสิเนห : ป. ความเสน่หาในญาติ, ความรักญาติ
  14. ญาติเหตุสมฺปตฺติ : อิต. สมบัติที่ได้รับเพราะเหตุแห่งญาติ
  15. เทฺวอสีติญาติกุลสหสฺส : (นปุ.) พันแห่งตระกูลแห่งพระญาติแปดสิบสองหน (แสนหกหมื่นตระกูล). เป็น อ. ทิคุ มี ฉ. ตัป., ฉ. ตัป. ผละ อ. ทิคุ เป็น ภายใน.
  16. ปฏิพนฺธุ : ป. ความเกี่ยวข้อง, ความพัวพัน; พวกพ้อง, ญาติ
  17. พนฺธุ : (ปุ.) พวกพ้อง, พงศ์, พงศ์พันธุ์, ญาติ, ญาติพี่น้อง, วงศ์, วงศ์วาน. วิ. พนฺธตีติ พนฺธุ. พนฺธียติ สิเนหภาเวนาติ วา พนฺธุ. พนฺธฺ พนฺธเน, อุ, ณุ วา. อตฺตนิ ปรํ พนฺธตีติ วา พนฺธุ. อยํ อมุหากํ วํโสติ สมฺพนฺธิตพฺพฏฺเฐน เปมพนฺธเนน พนฺธตีติ วา พนฺธุ.
  18. สชน : นป. การกอด, การรวม; ญาติ
  19. ญาต : (วิ.) ผู้รู้ วิ. ชานาตีติ ญาโต. อันเขารู้ วิ. ญาตพฺพนฺติ ญาตํ ญาธาตุ ต ปัจ.
  20. ญาตก : (ปุ.) คนรู้จัก, คนรู้จักกัน, พี่น้อง, ญาติ. วิ. ญาติ เอว ญาตโก. แปลง อิ เป็น อ ก สกัด.
  21. ชาติมาลา : (อิต.) แผนแห่งชาติ, สาขาแห่ง ชาติ, แผนแห่งเครือญาติ, โครงแห่ง ตระกูล.
  22. ญาตตฺถจริยา : (อิต.) ความประพฤติเป็นไป เพื่อประโยชน์แก่ญาติ, ความประพฤติ เป็นประโยชน์แก่ญาติ, ความประพฤติ เพื่อประโยชน์แก่ญาติ, ความประพฤติ ประโยชน์ของญาติ.
  23. ติกปาจิตฺติย : (นปุ. อิต.) ติกปาจิตตีย์ คือ ปาจิตตีย์ ๓ ตัว ในสิกขาบทเดียวกัน คือ ขอจีวรจากบุคคลมิใช่ญาติ ๑ บุคคลนั้น มิได้ปวารณาไว้ ๑ ขอในสมัยที่มิได้ ทรงอนุญาตไว้ ๑ ดูสิกขาบทที่ ๖ แห่ง จีวรวรรค.
  24. ธมฺมนาฏก : ค. นักฟ้อนโดยธรรม, นักฟ้อนโดยกฎหมาย, นักฟ้อนที่พระราชาทรงอนุญาติให้เป็นสาธารณะโดยถูกต้องตามกฎหมาย
  25. ปุพฺพญาติ : ป. ญาติในกาลก่อน
  26. ปุพฺพเปตพลิ : (ปุ.) การบูชาแก่ญาติผู้ละไปแล้วก่อน, การบูชาแก่ญาติผู้ตายไปก่อน, เครื่องบูชาอันบุคคลทำให้ แก่ผู้ละโลกไปแล้วก่อน, เครื่องเซ่นสรวงที่กระทำให้แก่ผู้ตายไปก่อน, บุญกุศลที่อุทิศให้แก่ญาติผู้ตายไปก่อน.
  27. พนฺธว : (ปุ.) ญาติ, มิตร. พนฺธุ เยว พนฺธโว. แปลง อุ เป็น อว.
  28. พนฺธุตา : อิต. ประชุมแห่งเผ่าพันธุ์, หมู่ญาติพี่น้อง
  29. พนฺธุมนฺตุ : ค. มีเผ่าพันธุ์, มีญาติพี่น้อง
  30. สปิณฺฑ : (ปุ.) ญาติสืบสาย วิ. สมานํ ปิณฺฑทานํ ยสฺส โส สปิณฺโฑ.
  31. สาโลหิต : (ปุ.) คนผู้ร่วมสายเลือด, คนผู้ร่วมสายเลือดเดียวกัน, คนผู้นับเนืองในวงศ์ญาติ, ญาติสืบสาย, สาโลหิต, สายโลหิต. วิ. โลหิเตน สมฺพนฺโธ สาโลหิตโต. สมฺพนฺธสฺส สาเทโส, ปุพฺพนิปาโต จ. แปลง สมฺพนฺธ เป็น สา และตกไป (ยกไปไว้) ข้างหน้า.
  32. อญฺญาตก : ค. ซึ่งไม่ใช่ญาติ, ซึ่งไม่มีใครรู้จัก
  33. ญาตปริญฺญา : (อิต.) ธรรมชาติอันบุคคลพึง กำหนดรู้อันตนรู้แล้ว, การกำหนดรู้ด้วย ความรู้.
  34. ญาตุ : (ปุ.) คนผู้รู้. ญา+ตุ ปัจ.
  35. อญฺญาต : ค. ๑. อันเขารู้แล้ว (อา + ญาต) ; ๒. อันเขาไม่รู้แล้ว (น + ญาต)
  36. กปฺปิยกุฏิ : อิต. กัปปิยกุฏี, กุฎีนอกวิหารใช้เป็นที่เก็บของที่ถูกต้องตามพุทธานุญาต
  37. ติจีวร : (นปุ.) ผ้าสามผืน, ผ้าไตร, ไตรจีวร. เครื่องนุ่งห่มของพระมี ๓ ผืน ได้แก่ สบง ผ้าสำหรับนุ่ง ๑ จีวรผ้าสำหรับห่ม ๑ สังฆาฏิ ผ้าซ้อนนอกสำหรับกันหนาว หรือผ้าทบ ๑ มีพระบรมพุทธานุญาตให้ ภิกษุมีผ้าสามผืนเท่านี้ ผ้านอกนี้จะมีไว้ใช้ ต้องใช้กับของวิกัป.
  38. ปุริมวสฺส : (ปุ. นปุ.) พรรษต้น, วันเข้าพรรษาต้น. การอธิษฐานเข้าพรรษา ตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ เรียกว่า ปุริมพรรษา บุริมพรรษา. ถ้าหากมีความจำเป็นเข้าไม่ทันมีพระบรมพุทธานุญาตให้อธิษฐานเข้าวันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๙ เรียกปัจฉิมพรรษา.
  39. อจฺเจกจีวร : (นปุ.) ผ้ารีบร้อน, ผ้ารีบด่วน, อัจเจกจีวร คือ ผ้าจำนำพรรษานั่นเองแต่ทายกทายิการีบถวายเพราะมีเหตุจำเป็นต้องไปในกองทัพหรือเจ็บไข้ หญิงมีครรภ์ไม่มั่นใจในชีวิตมีพระพุทธานุญาตให้ภิกษุรับได้ก่อนออกพรรษา ๑๐วัน รับแล้วเก็บไว้ได้ตลอดกาลจีวร ไตร. ๒/๑๖๒.
  40. อาปุจฺฉติ : ก. ถามโดยเอื้อเฟื้อ, ถามหา; บอกลา, ขอนุญาต
  41. [1-40]

(0.0067 sec)