Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ฏา , then , ฏะ, ฏา, ษา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ฏา, 75 found, display 1-50
  1. กุลฏา : (อิต.) หญิงผู้ทำลายตระกูล, หญิงผ่าเหล่า, หญิงโกง, หญิงไม่ดี, วิ. กุลานิ อฏตีติ กุลฏา. กุลปุพฺโพ, อฏฺ นาสเน, อ, อิตฺถิยํ อา.
  2. : (ปุ.) เสียง, สำเนียง, เสียงร้อง. ฏี ปกฺขนฺทเน, อ. การปิด, การปกปิด, การกำบัง, เครื่องปิด, ฯลฯ ฏิ ฏี วา อจฺฉาทเน, อ. นก. ฏิ ฏี วา อากาสคมเน, อ.
  3. ฏก ฏงฺก : (ปุ.) สิ่ว, เหล็กสกัดสิลา, เครื่องมือ ทำลายหิน, เครื่องมือช่างทำหิน, เครื่อง มือขุดดิน, ขวาน, ขวานเล็กๆ, ดาบ. ฏํกฺ วิทารเณ, อ. แปลง ก เป็น ค เป็น ฏงฺค บ้าง. แปลว่า ความโกรธบ้าง.
  4. พฺยาวฏ พฺยาวต : (วิ.) ขวน ขวาย, พยายาม, กระ ตือรือร้น. วิ อา ปุพฺโพ, วฏฺ เวฐเน, อ. ศัพท์หลัง แปลง ฏ เป็น ต.
  5. กวาฏ : (ปุ.) วงรับลม, บาน ประตู. ส. กวฏี กวาฏ.
  6. อุปฏฐาปน : นป. ดู อุปฏฐาน
  7. กฏุกีฏ : ป. ยุง
  8. กณฺฏกวาฏ : ป. รั้วหนาม
  9. กวาฏ, กวาฏก : ป., นป. หน้าต่าง, บานประตูหน้าต่าง
  10. กวาฏพนฺธ : ป. เครื่องผูกประตู
  11. โกณฺฏ : ป. คนห้าวหาญ, คนอวดรู้
  12. เขมฏฐาน : นป. สถานที่อันเกษม, สถานที่ปลอดภัย
  13. เขมฏฐิต : ค. ผู้ดำรงอยู่ในความเกษม, ผู้สำราญ
  14. ครุฏฐานิย : ค. ผู้ตั้งอยู่ในตำแหน่งครู, ผู้ควรแก่การเคารพนับถือและยกย่อง
  15. คามฏฐาน : นป. ที่เคยตั้งบ้าน, บ้านเก่า, บ้านร้าง
  16. จกฺกวาฏ : ป. ที่กำหนด, เขตแดน, ที่ตั้งตะเกียง
  17. จาคาธิฏฐาน : ป. ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจคือจาคะ, ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจคือการสละสิ่งที่เป็นข้าศึกแก่ความจริงใจ (อธิษฐานธรรมอย่างหนึ่งในอธิษฐานธรรมสี่)
  18. จิรฏฐิติก : ค. ซึ่งตั้งอยู่ตลอดกาลอันยาวนาน, ซึ่งดำรงอยู่ชั่วกาลนาน
  19. ฉิยติ, ฉุฏติ, - เฏติ, ฏยติ : ก. ตัด, ทำให้ขาด, บั่น, ทอน
  20. ทานพฺยาวฏ : ค. ผู้ขวนขวายในการบริจาคทาน, ผู้จัดแจงทาน
  21. ปากฏ : ค. ปรากฏแล้ว, รู้แล้ว, มีชื่อเสียง; ซึ่งคุ้มครองไม่ได้; สามัญ; เลว
  22. ปาวฏ, ปาวต : ค. ขวนขวายแล้ว
  23. พฺยาวฏ : ค. ซึ่งถูกปกปิด, ซึ่งประดับประดาแล้ว
  24. มหาวิกฏ มหาวิกต : (นปุ.) มหาวิกัติ ชื่อยาแก้พิษขนานหนึ่งมี ๔ ยาง คือ มูต คูถ เถ้า ดิน.
  25. วฺยาวฏ : ค. มีธุระมาก, ว่องไว, ตั้งใจ, ขวนขวาย
  26. วิกฏ : ค. เปลี่ยนแปลง, สกปรก, เป็นมูตรคูถ
  27. วิวฏ : กิต. เปิดแล้ว
  28. สมฺมาทิฏฐ : (อิต.) ความเห็นชอบ, ความเห็นโดยชอบ. วิ. สมฺมาทสฺสนํ สมฺมาทิฏฐ. ความเห็นโดยชอบคือโดยไม่วิปริต วิ. สมฺมา อวิปริตโต ทสฺสนํ สมฺมาทิฏฐ. ปัญญาอันเห็นชอบ, ปัญญาเห็นชอบ. สมฺมาปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, ติ, ติสฺส ฏฐ, สฺโลโป. สัมาทิฆฐิ แบ่งเป็น ๒ คือ โลกิยสัมมาทิฏฐิ อย่าง ๑ โลกุตตรสัมมาทิฏฐิอย่าง ๑ อีกอย่างหนึ่ง สัมมาทิฏฐิ อย่างธรรมดา ได้แก่ ความเห็นที่ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม เช่น เห็นว่าทำดี ได้ความดี ทำชั่วได้ความชั่ว พ่อ แม่ มีบุญคุณ เป็นต้น สัมมาทิฏฐิอย่างสูง ได้แก่ความเห็นอริยสัจ ๔.
  29. สมฺมุขฏฐาน : (นปุ.) ที่มีหน้าเฉพาะ, ที่ตรงหน้า, ที่พร้อมหน้า.
  30. อนาวฏ, อนาวาฏ : ค. เปิด, ไม่ปิด
  31. อปฺปติ (ฏิ) หต : ค. ไม่ถูกกระทบ, ไม่ถูกทุบ
  32. อปากฏ : ค. ไม่ปรากฏ, ไม่มีชื่อเสียง, ไม่เด่นชัด
  33. อปากฏตา : อิต. ความไม่มีชื่อเสียง
  34. อพฺยาวฏ : (วิ.) ไม่ขวนขวาย, ไม่กระตือรือร้น.
  35. อวฺยาวฏ : ค. ไม่ห่วง, ไม่กังวล, ไม่ขวนขวาย, ประมาท, สะเพร่า, เพิกเฉย
  36. อวาวฏ : ค. เป็นอิสระ, ไม่มีใครขัดขวาง, ซึ่งยังไม่ได้แต่งงาน
  37. อวิวฏ : ค. ไม่เปิด, ไม่ห่าง
  38. อาวฏ : กิต. ปิดแล้ว, กั้นแล้ว
  39. อุปฏฐาน : นป. การอุปัฏฐาก, การคอยรับใช้, การบำรุง, การปฏิบัติ
  40. อุปฏฐานสาลา : อิต. ศาลาเป็นที่บำรุง, หอฉัน, โรงฉัน
  41. อุปฏฐิต : กิต. ถูกตั้งไว้แล้ว, ถูกตระเตรียมแล้ว, เข้าไปใกล้แล้ว, เข้าไปปฏิบัติแล้ว
  42. วิกูชติ : ฏ. ร้องเจี๊ยวจ๊าว, ร้องเพลง
  43. กฏุ กฏก : (วิ.) เผ็ด, เผ็ดร้อน, หยาบ, หยาบคาย, ดุ, ดุร้าย, ผิด, ไม่ควร, ไม่ สมควร. กฏฺ คติยํ, อุ. ศัพท์ หลัง ก สกัด แต่อภิฯ และฎีกาอภิฯ ลง ณฺวุ ปัจ แปลง ณวุ เป็น อก แล้ว ฏฺ อาศัย อ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อุ. ส. กฏุ. กฏุ
  44. กฏุมฺพ : (นปุ.) ทรัพย์ กุฏมฺ วตฺตเน. โพ แปลง อุ ที่ กุ เป็น อ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อุ. ดู กุฏุมฺพ ด้วย.
  45. กุฏุมฺพ : (นปุ.) ทรัพย์ (นา สวน เป็นต้น) กุฏมฺ วตฺตเน, โพ, อสฺส (แปลง อ ที่ ฏ เป็น อุ).
  46. กุฑ กุฑก กุฑฺฑ : (นปุ.) ฝา, ฝาบ้าน, ฝาเรือน. กุฏฺ เฉทเน, อ, ฏสฺส โฑ. ศัพท์ที่ ๒ ก สกัด ศัพท์ที่ ๓ แปลง ฏ เป็น ฑฺฑ.
  47. เกฏุ : (ปุ.) ธง. เกตุ ศัพท์แปลง ตุ เป็น ฏ.
  48. คุฏฺฐ : (ปุ.) แม่มือ, หัวแม่มือ. กุฏ+ฐ แปลง กุ เป็น คุ ลบ อ ที่ ฏ.
  49. โคฏวิส : (ปุ.) สมอ ชื่อของของหนักที่ใช้เชือก หรือโซ่ผูกไว้ สำหรับใช้ทอดลงไปในน้ำ เพื่อให้เกาะดิน มีให้เรือลอยไปที่อื่น วิ. คมิจฺฉิตทิสํ อฏติ เยน โส โคฏวิโส. คมิจฺฉิตทิสปุพฺโพ, อฏฺ คติยํ, อิโส.ลง อ ปัจ. ประจำหมวดธาตุ เป็น อฏ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อว ลบบทหน้าเหลือ ค แปลง อ ที่ ค เป็น โอ รวมเป็น โคฏว+อิส ปัจ.
  50. จุมฺพฏ จุมฺมฏก จุมฺพตก : (นปุ.) เชิง, เชิงรอง, เครื่องรองภาชนะ, เทริด, เสวียน, รัดเกล้า ชื่อเครื่องประดับศรีษะเพื่อรัดผมที่เกล้าไว้ ให้แน่น, ของที่เป็นวงกลม, เครื่องสำหรับ รองของที่เทินไว้บนศรีษะ (ส่วนมากทำ ด้วยผ้าเป็นวงกลม). จุมฺพฺ วทนสํโยเค, อโฏ. สองศัพท์หลัง ก สกัดศัพท์สุดแปลง ฏ เป็น ต.
  51. [1-50] | 51-75

(0.0774 sec)