Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ดด , then ดด, ตต .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ดด, 35 found, display 1-35
  1. ตต : (วิ.) แผ่, แผ่ไป, ขยาย, กว้างขวาง., แพร่หลาย. ตนุ วิตฺถาเร, โต, นฺโลโป.
  2. กุกฺกุฏณฺฑ : (นปุ.) ไข่ไก่. กุกฺกุฏ+อณฑ. ไข่ ของสัตว์อื่นดด นักศึกษาพึงประกอบศัพท์ โดยเอาศัพท์นี้เป็นอุ.
  3. ตติ : (อิต.) การแผ่ ฯลฯ ความแผ่, ฯลฯ ติ ปัจ. ลบ นุ
  4. ตโต : (อัพ. นิบาต) แล, เพราะ, เพราะเหตุนั้น, ด้วยเหตุนั้น, แต่นั้น, ในลำดับนั้น. ตโต อยู่ต้นข้อความแปลว่า ในลำดับนั้นอยู่ ในเลขใน แปลว่า ในภายหลัง ตโต อยู่ กับ ปฎฺฐาย เป็นต้น เป็นวิเสสสัพพนาม ( ต + โต ปัจ. ) ต้องเติม นามนาม เข้ามา.
  5. กลตฺต กฬตฺต กลตฺร : (นปุ.) ภรรยา. กลฺ สงฺ ขฺยาเณ, ตปจฺจโย, ตฺรณฺปจฺจโย วา. สอง ศัพท์แรก แปลง ต เป็น ตฺต อภิฯ ฎีกาฯ และรูปฯ ลง อตฺต ปัจ. ศัพท์หลังลง ตฺรณฺ ปัจ. ลบ ณฺ. ส. กลตฺร.
  6. เขตต : (นปุ.) ภริยา, สรีระ, ตน, แดน, แคว้น, นา, ไร่, ไร่นา, ที่, ที่ดิน, ทุ่ง, ทุ่งนา, เขต. วิ. พีชานิ ขิปิยนฺตีติ เขตฺตํ. พีชานิ ขิปนฺตฺ- ยสฺมินฺติ วา เขตฺตํ. ขิปฺ เปรเณ, โต, ปการสฺส ตตฺตํ. ขิตฺตํ พิชํ มหปฺผลภาวกร- เณน ตายตีติ วา เขตฺตํ. ขิตฺตปุพฺโพ, ตา ปาลเน, โต, อิสฺเส, ตการทฺวยโลโป (ลบ ตฺต แห่ง ขิตฺต) ที่แปล เขตฺต ว่า ภริยานั้น เพราะเป็นที่งอกงามของพืช คือ บุตร. ส. กฺษตร.
  7. คตฺต : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ตัว, รูป (ร่าง กาย). วิ. คตฺฉติ คณฺหาติ วา กุสลากุสล เมเตนาติ คตฺตํ. คมฺ คติยํ, คหฺ อุปาทาเน วา, โต. คุปฺ สํวรเณ วา, โต, อุการสฺส อกาโร, แปลง ต เป็น ตฺต ลบที่สุดธาตุ.
  8. คุตฺติ : (อิต.) การคุ้มครอง, การปกครอง, การเลี้ยงดู, การรักษา, ความคุ้มครอง, ฯลฯ. วิ. โคปยเตติ คุตฺติ. คุปฺ โคปเน, ติ. แปลง ติ เป็น ตฺติ ลบ ปฺ หรือไม่แปลง ติ แปลง มฺ เป็น ตฺ ก็ได้.
  9. จนฺทนิกา : (อิต.) บ่ออันเต็มด้วยของไม่สะอาด ใกล้ประตูบ้าน, บ่ออันเต็มด้วยน้ำไม่ สะอาดใกล้ประตูบ้าน, บ่อน้ำครำ, แอ่งน้ำ ครำ. วิ. จิตฺตํ ทุโนตีติ จนฺทนิกา จิตฺตปุพฺโพ ทุ หึสายํ. ลง ณุ ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ แปลง ณุ เป็น นุ อ ปัจ. นามกิตก์ อิ อาคม ก สกัด ลบ ตฺต แปลง อิ ที่ จิ เป็น อ อาอิต.
  10. จริตฺต จริตฺร : (นปุ.) ความประพฤติ. ศัพท์แรก ต. ปัจ. แปลง ต เป็น ตฺต ศัพท์หลัง ตฺรณฺ ปัจ. อิ อาคม.
  11. จิตฺตก : (ปุ.) จิตมูลเพลิง เจตมูลเพลิง ชื่อ- พรรณไม้เล็กๆ ใช้ทำยาไทย. จิตฺ หึสา- คนฺเธสุ, ณฺวุ แปลง ต เป็น ตฺต
  12. ฉมฺภิตตฺต : (นปุ.) ความหวาดหวั่น, ความสะดุ้ง, ความหวาดเสียว, ความครั่นคร้าม. ฉภิ อุตฺราเส, โต, ลงนิคคหิตและอิอาคม ได้ รูปเป็น ฉมฺภิต แล้วลง ตฺต ปัจ. ภาวตัท. สะกัด.
  13. ญตฺติ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องยังสงฆ์ให้รู้, คำ ประกาศให้สงฆ์ทราบ ( เพื่อทำกิจของ – สงฆ์ร่วมกัน ), การบอกให้รู้, การประกาศ (บอกให้รู้ให้เข้าใจ), ญัตติ (คำเสนอให้พิ- จารณา เพื่อลงมติ). ญา ธาตุ ติ ปัจ. รัสสะ ซ้อน ตฺ หรือแปลง ติ เป็น ตฺติ ไทยใช้ญัตติในความหมายว่า หัวข้อ, หัว ข้อโต้วาที.
  14. ทตฺติ : (อิต.) อันให้, การให้, เครื่องบูชา. ทา ธาตุ ติ ปัจ. รัสสะ แปลง ติ เป็น ตฺติ หรือ ซ้อน ตฺ หรือลง ตฺติ ปัจ. ส. ทตฺติ.
  15. ธุตฺต ธุตฺตก : (ปุ.) คนล่อลวง, ธุพฺพิ หึสายํ, โต. แปลง ต เป็น ตฺต ลบที่สุดธาตุ.
  16. นกฺขตฺต : (นปุ.) ลาว, ดวงดาว, ดาวฤกษ์, ฤกษฺ (ดาวที่มีลักษณะเป็นกลุ่มแก๊ส ทรงกลมสามารถแผ่รังสีออกได้รอบตัว), นักษัตร (ดาวฤกษ์มี ๒๗ กลุ่ม). วิ.ปุนปฺปุนํ อุทยโต น ขียเตติ นกฺขตฺตํ. นปุพฺโพ, ขี ขเย. โต. แปลง อี เป็น อ แปลง ต เป็น ตฺต ซ้อน กฺ. อตฺตโน คมนฏฐานํ น ขรติ น วินาเสตีติ วา นกฺขตฺตํ ขรฺ ขเย, นกฺขตีติ วา นกฺขตฺตํ. นกฺขฺ คติยํ, โต. เอตโต อิโต จาติ วิสมคติยา อคนฺตฺวา อตฺตโน วีถิยา ว คมเนน นกฺขนํ คมนํ ศายตีติ วา นกฺขตฺตํ. ตา เต วา ปาลเน. ส. นกฺษตฺร.
  17. นิมิตฺต : (นปุ.) เหตุ, มูลเค้า, เค้ามูล. วิ. อตฺตโน ผลํ นิมฺมินาตีติ นิมิตฺตํ นิปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, โต. นิมียติ เอตฺถ ผลํ ตทา- ยตฺตวุตฺติตายาติ วา นิมิตฺตํ. มิ ปกฺขิปเน. แปลง ต ปัจ. เป็น ตฺต ธาตุแรกแปลง อา เป็น อิ.
  18. นิรุตฺต : (นปุ.) ภาษา, คำพูด. นิจฺฉย หรือ นิสฺเสส บทหน้า วจฺ ธาตุ ต ปัจ. ลบ จฺ แปลง ว เป็น อุ แปลง ต เป็น ตฺต รฺ อาคม. รูปฯ ๖๑๓.
  19. ปปุตฺต : (ปุ.) หลาน ( ลูกของลูกชายหรือลูก ของลูกสาว ) , หลานชาย. วิ. ปุตฺตสฺส ปุตฺโต ปปุตฺโต. ลบ ตฺต ของศัพท์หน้า และแปลง อุ เป็น อ.
  20. ปภุตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคล. ปภุ + ตฺต ปัจ. ภาวตัท.
  21. พฺยตฺติ : (อิต.) ความฉลาด, ฯลฯ, ความจัดเจน, ความจัดจ้าน, ความประจักษ์แจ้ง, ความปรากฏ. วิปุพฺโพ, อทฺ คติยํ, ติ. แปลง ติ เป็น ตฺติ ลบ ทฺ หรือ คง ติ ไว้แปลง ทฺ เป็น ตฺ ก็ได้.
  22. ภตฺติ : (อิต.) การแบ่ง, การแจก, การให้, การให้ปัน. ภชฺ ภาชน-ทาเนสุ, ติ แปลง ติ เป็น ตฺติ ลบ ชฺ.
  23. ภตฺตุ : (ปุ.) ผัว, ภัสดา, ภัศดา, ภรรดา. ภรฺโปสเน, ริตุ, แปลง รฺ เป็น ตฺ ลบ ริ หรือ แปลง ตุ เป็น ตฺตุ ลบ รฺ และ ลบ ริ. อภิฯ. รูปฯ ๕๕๙ ลง ตุ. ปัจ. แปลง รฺ เป็น ตฺ. ส. ภฺรตถุ.
  24. มนุสฺสตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งมนุษย์, ความเป็นมนุษย์. ตฺต ปัจ.
  25. มมตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งของเรา, ความยึดถือว่าของเรา. ตฺต, ตา ปัจ.
  26. มมตฺตา : (อิต.) ความเป็นแห่งของเรา, ความยึดถือว่าของเรา. ตฺต, ตา ปัจ.
  27. มิจฺฉตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งความเห็นผิด. ตฺต ปัจ. ภาวตัท. รัสสะ อา เป็น อ. ความเห็นผิด. ตฺต ปัจ. สกัด.
  28. มุตฺต : (นปุ.) ปัสสาวะ, น้ำมูตร, น้ำเบา, น้ำเยี่ยว, เยี่ยว. มุจฺ โมจเน, โต, จสฺส โต. มุตฺตฺ ปสฺสาเว วา, อ. มิหฺ เสจเน วา. แปลง ต เป็น ตฺต ลบ หฺ แปลง อิ เป็น อุ.
  29. เมตฺติ : (อิต.) ความรัก, ฯลฯ, ความเป็นเพื่อนกัน, ความไมตรี, ไมตรี. มิทฺ สิเนเห, ติ. แปลง อิ เป็น เอ ทฺ เป็น ตฺ หรือแปลง ติ เป็น ตฺติ ลบ ทฺ. มิตฺเต ภวา วา เมตฺติ. ณิ ปัจ.
  30. สมฺมาทิฏฐ : (อิต.) ความเห็นชอบ, ความเห็นโดยชอบ. วิ. สมฺมาทสฺสนํ สมฺมาทิฏฐ. ความเห็นโดยชอบคือโดยไม่วิปริต วิ. สมฺมา อวิปริตโต ทสฺสนํ สมฺมาทิฏฐ. ปัญญาอันเห็นชอบ, ปัญญาเห็นชอบ. สมฺมาปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, ติ, ติสฺส ฏฐ, สฺโลโป. สัมาทิฆฐิ แบ่งเป็น ๒ คือ โลกิยสัมมาทิฏฐิ อย่าง ๑ โลกุตตรสัมมาทิฏฐิอย่าง ๑ อีกอย่างหนึ่ง สัมมาทิฏฐิ อย่างธรรมดา ได้แก่ ความเห็นที่ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม เช่น เห็นว่าทำดี ได้ความดี ทำชั่วได้ความชั่ว พ่อ แม่ มีบุญคุณ เป็นต้น สัมมาทิฏฐิอย่างสูง ได้แก่ความเห็นอริยสัจ ๔.
  31. อตฺต อตฺร : (ปุ.) กาย, ร่างกาย, ตน, ตู(ตัว), ตัว, ตัวเอง, ตัวตน (ร่างกายและใจ). วิ. ทุกฺขํ อตติสตตํ คจฺฉตีติ อตฺตา (ถึงทุกข์เสมอ).อาหิโตอหํมาโน เอตฺถาติวา อตฺตา (เป็นที่ตั้งของมานะ).สุขทุกฺขํ อทติ ภกฺขติ อนุภาวตีติวาอตฺตา(เสวยสุขทุกข์).ชาติชรามรณาทีหิอาทียเต ภกฺขียเตติวา อตฺตา (อันชาติชราและมรณะเป็นต้น เคี้ยวกิน).ภววภวํธาวนฺโตชาติชรามรณาทิเภทํ อเนกวิหิตํสํสารทุกขํอตติสตตํคจฺฉติปาปุณาติอธิคจฺฉตีติวาอตฺตา.อตฺหรืออทฺธาตุตปัจ.ถ้าตั้งอทฺ ธาตุ แปลงทเป็น ต หรือ แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ทฺศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ตฺรลบที่สุดธาตุอตฺตศัพท์นี้ตามหลักบาลีไวยากรณ์เป็นเอก.อย่างเดียว ถ้าจะใช้เป็นพหุ. ต้องแปลซั้าสองหน หรือเขียนควบสองหนเช่น อตฺตโนอตฺตโนแต่คัมภีร์รูปสิทธิเป็นต้น แจกเป็นพหุ. ได้.แปลว่า จิตใจ สภาวะ และ กุสลธัมได้อีกอุ. อตฺตา หิกิรทุทฺทโมได้ยินว่าจิตแล(ใจแล) เป็นสภาพรักษาได้ยาก.แปลว่า หัวใจ อุ.ตถตฺตมีหัวใจเป็นอย่างนั้นมีพระทัยเป็นอย่างนั้น. แปลว่าปรมัตตะ หรือปรมาตมันตามที่ชาวอินเดียโบราณถือว่าเป็นสิ่งไม่ตาย รูปฯ๖๓๖ ลง มนฺ ปัจ. ลบ น.แปลง ม เป็น ต สูตรที่ ๖๕๖ ลง ต ตฺรณฺ ปัจ.ที่ลง ตฺรณฺปัจ.ลบที่สุดธาตุ แล้วลบณฺสฺอาตฺมนฺอาตฺมา.
  32. อาภุชี : (อิต.) ไม้เสม็ด, ไม้แสม, ไม้ราชดัด.อาภุชิตตจวนฺตตายอาภุชี.
  33. อาสตฺต : (วิ.) ตั้งหน้า, เอาใจใส่, มีเพียร, มีสิ่ง นั้น ๆ เป็นใหญ่. อาปุพฺโพ, สญฺชฺ สงฺเค, โต. แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ญฺช.
  34. อุพฺพฏฺฏน อุพฺพตฺตน : (นปุ.) การขัดสี. อุปุพฺโพ, วตฺต วตฺตเน, ยุ. ศัพท์ต้น แปลง ตฺต เป็น ฏฺฏ.
  35. อูนตฺต : (นปุ.) ความหย่อน, ฯลฯ. ตฺต ปัจ. สกัดให้เป็นนาม.
  36. [1-35]

(0.0066 sec)