Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ดน , then ดน, ตน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ดน, 355 found, display 1-50
  1. เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
  2. ตนุ : (อิต.) กาย, ร่างกาย, ตน, หนัง. วิ.ตโนติ สํสารทุกฺขนฺติ ตนุ. ตนุ วิตถาเร, อุ. รูปฯ ๖๓๕ ลง ณุ ปัจ. ไม่ทีฆะ. ไทยใช้ ดนุ เป็นสัพพนามแทนผู้พูด. ฉันข้าพเจ้าฯลฯ.
  3. ตนยา : (อิต.) ลูกหญิง, ลูกสาว.
  4. จิรนฺตน : (วิ.) ชั่วก่อน (ระยะก่อน), ชั่วเพรง (เพรง คือ ก่อนเก่า), ก่อน, มีในก่อน. วิ. จิรํ ภโว จิรนฺตโน. จิรํ+ตน ปัจ. แปลง นิคคหิตเป็น น. ฎีกาอภิฯ ว่า ลบนิคคหิต ถ้าถือตามมติฎีกาฯ ก็ต้องลง นฺ สังโยค หรือ นฺ อาคมหน้าปัจ.
  5. ปุราตน : (วิ.) เก่า, ก่อน, ฯลฯ. วิ. ปุรา ภโว ปุราตโน. ตน ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๒๒. ดู ปุราณ(วิ.)
  6. สฺวาตน : (อัพ. นิบาต) มีในวันพรุ่ง วิ. เ สฺว ภวํ สฺวาตนํ. เ สฺว+ตน ปัจ. แปลง เอ เป็น อา รูปฯ ๔๐๗.
  7. หิยฺยตฺตน : (วิ.) เป็นในวันวาย, มีในวันวาน. วิ. หิยฺโย ภโว หิยฺยตฺตโน. ที่เป็นวิเสสนะ ของ อิต. เป็น หิยฺยตฺตนี. หิยฺย+ตน ปัจ.
  8. เกตน : (นปุ.) การกำหนด, การหมาย, ธง, บ้าน, เรือน, ที่อาศัย. กิตฺ ญาณนิวาเสสุ,ยุ.ส.เกตน.
  9. เขตต : (นปุ.) ภริยา, สรีระ, ตน, แดน, แคว้น, นา, ไร่, ไร่นา, ที่, ที่ดิน, ทุ่ง, ทุ่งนา, เขต. วิ. พีชานิ ขิปิยนฺตีติ เขตฺตํ. พีชานิ ขิปนฺตฺ- ยสฺมินฺติ วา เขตฺตํ. ขิปฺ เปรเณ, โต, ปการสฺส ตตฺตํ. ขิตฺตํ พิชํ มหปฺผลภาวกร- เณน ตายตีติ วา เขตฺตํ. ขิตฺตปุพฺโพ, ตา ปาลเน, โต, อิสฺเส, ตการทฺวยโลโป (ลบ ตฺต แห่ง ขิตฺต) ที่แปล เขตฺต ว่า ภริยานั้น เพราะเป็นที่งอกงามของพืช คือ บุตร. ส. กฺษตร.
  10. ธมฺมจกฺกปฺปวตฺตนสุตฺต : (นปุ.) ธรรมจัก- กัปปวัตตนสูตร ชื่อพระสูตรซึ่งพระพุทธ- เจ้าทรงแสดงครั้งแรกแก่พระเบญจวรรคีย์ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ปฐมเทศนา.
  11. นฏน นฏฺฏ นตฺตน : (นปุ.) การฟ้อน, การรำ, การฟ้อนรำ, การเต้น, การเต้นรำ. ศัพท์ที่ ๑, ๒ นฎ นตฺยํ. ศะพท์ตัน ยุ ปัจ. ศัพท์ที่ ๒ อ ปัจ. และแปลง ฏ เป็น ฏฺฏ ศัพท์ที่ ๓ นตฺ คตฺตวิมาเน. ลง ย ปัจ. ประจำธาตุ และ ยุ ปัจ. นามกิตก์ แปลง ตฺย เป็น จฺจ ยุ เป็น อน. ส. นรฺตน, นฤดี.
  12. นิวตฺตน : (นปุ.) การหลับ, การหันกลับ, การหมุนกลับ. นิปุพฺโพ, วตฺต วตฺตเน, ยุ. ส. นิวรฺตฺตน.
  13. สรีร : (นปุ.) ร่าง (ตัว), กาย, ร่างกาย, ตัว, ตน, ตัวตน, สรีระ, วิ. สรตีติ สรีรํ. สรฺ คติยํ, อีโร. สรนฺติ วาตํ หึสนฺตีติ วา สรีรํ. สรฺ หึสายํ. อภิฯและฎีกาฯ ลงอีรปัจ. รูปฯ ลง อิร ปัจ. ทีฆะ.
  14. อตฺต อตฺร : (ปุ.) กาย, ร่างกาย, ตน, ตู(ตัว), ตัว, ตัวเอง, ตัวตน (ร่างกายและใจ). วิ. ทุกฺขํ อตติสตตํ คจฺฉตีติ อตฺตา (ถึงทุกข์เสมอ).อาหิโตอหํมาโน เอตฺถาติวา อตฺตา (เป็นที่ตั้งของมานะ).สุขทุกฺขํ อทติ ภกฺขติ อนุภาวตีติวาอตฺตา(เสวยสุขทุกข์).ชาติชรามรณาทีหิอาทียเต ภกฺขียเตติวา อตฺตา (อันชาติชราและมรณะเป็นต้น เคี้ยวกิน).ภววภวํธาวนฺโตชาติชรามรณาทิเภทํ อเนกวิหิตํสํสารทุกขํอตติสตตํคจฺฉติปาปุณาติอธิคจฺฉตีติวาอตฺตา.อตฺหรืออทฺธาตุตปัจ.ถ้าตั้งอทฺ ธาตุ แปลงทเป็น ต หรือ แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ทฺศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ตฺรลบที่สุดธาตุอตฺตศัพท์นี้ตามหลักบาลีไวยากรณ์เป็นเอก.อย่างเดียว ถ้าจะใช้เป็นพหุ. ต้องแปลซั้าสองหน หรือเขียนควบสองหนเช่น อตฺตโนอตฺตโนแต่คัมภีร์รูปสิทธิเป็นต้น แจกเป็นพหุ. ได้.แปลว่า จิตใจ สภาวะ และ กุสลธัมได้อีกอุ. อตฺตา หิกิรทุทฺทโมได้ยินว่าจิตแล(ใจแล) เป็นสภาพรักษาได้ยาก.แปลว่า หัวใจ อุ.ตถตฺตมีหัวใจเป็นอย่างนั้นมีพระทัยเป็นอย่างนั้น. แปลว่าปรมัตตะ หรือปรมาตมันตามที่ชาวอินเดียโบราณถือว่าเป็นสิ่งไม่ตาย รูปฯ๖๓๖ ลง มนฺ ปัจ. ลบ น.แปลง ม เป็น ต สูตรที่ ๖๕๖ ลง ต ตฺรณฺ ปัจ.ที่ลง ตฺรณฺปัจ.ลบที่สุดธาตุ แล้วลบณฺสฺอาตฺมนฺอาตฺมา.
  15. อนิวตฺตอนิวตฺตน : (วิ.) ไม่กลับ, ไม่หมุนกลับ, ไม่ท้อถอย.ส.อนิวรฺตอนิวรฺตน.
  16. อนิวตฺต อนิวตฺตน : (วิ.) ไม่กลับ, ไม่หมุนกลับ, ไม่ท้อถอย. ส.อนิวรฺต อนิวรฺตน.
  17. อนุวตฺตอนุวตฺตน : (นปุ.) ความคล้อยตาม, ความผ่อนตาม, ความเป็นไปตาม, ความเป็นไปสมควร, ความสมควร.ส.อนุวรฺตน.
  18. อนุวตฺต อนุวตฺตน : (นปุ.) ความคล้อยตาม, ความผ่อนตาม, ความเป็นไปตาม, ความเป็นไปสมควร, ความสมควร. ส.อนุวรฺตน.
  19. อากาสานญฺจายตนภูมิ : (อิต.) อากาสานัญจาย-ตนภูมิชื่อภูมิของอรูปพรหมที่๑.
  20. อากิญฺจญฺญายตนภูมิ : (อิต.) อากิญจัญญยตนภูมิชื่อภูมิของอรูปพรหมชั้นที่ ๓
  21. กนฺตน : (นปุ.) การตัด, การฆ่า, การแควะ, การควัก, การเชือด. กติ เฉทเน, ยุ.
  22. กปิตน : ป. มะสัง, ต้นหมาก
  23. กปิตน กปีตน : (ปุ.) มะสัง ชื่อต้นไม้ ต้นมี หนาม ใบคล้ายใบมะขวิด.
  24. กมฺมายตน : (นปุ.) หน้าที่การงาน.
  25. กายายตน : นป. สิ่งที่เป็นสื่อรับความรู้สึกจากภายนอกมาสู่กาย, สื่อทางกาย
  26. กิตฺตน : (นปุ.) การกำหนด, การสนทนา, การทัก อุ. นิมิตฺตกิตฺตนํ การทักนิมิต.
  27. คนฺธายตน : ป. อายตนะคือกลิ่น
  28. คพฺภปาตน : นป. การตกไปแห่งครรภ์, การแท้งลูก
  29. คุณกิตฺตน : นป. การพรรณนาคุณความดี
  30. โควิกตฺตน : นป. มีดหั่นเนื้อ
  31. ฆานายตน : นป. ฆานายตนะ, ฆานประสาท, สื่อกลางที่จมูกรับรู้กลิ่น
  32. จกฺกรตน : นป. จักรรัตน, รัตนคือจักร, จักรแก้ว (ของพระเจ้าจักรพรรดิ)
  33. จกฺขายตน จกฺขฺวายตน : (นปุ.) อายตนะ คือตา วิ. จกฺขุ เอว อายตนํ จกฺขายตนํ จกฺขฺวายตนํ วา. จกฺขุ+อายตน ศัพท์ต้นลบ อุ ศัพท์หลัง แปลง อุ เป็น ว.
  34. จินฺต จินฺตน : (นปุ.) จินฺตนา
  35. จินฺตน : นป. จินฺตนา อิต. การคิด, การดำริ, ความนึกคิด, ความดำริ
  36. ฉลายตน ฉฬายตน : (นปุ.) อายตนะหก. ฉ+ อายตน ลฺ อาคม ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ.
  37. ฉฬายตน : นป. อายตนะหก
  38. ชายตฺตน : นป. ความเป็นเมีย, ความเป็นภริยา
  39. ชารตฺตน : นป. ความเป็นชู้, ความมีชู้, ความคบชู้
  40. ชิวฺหายตน : (นปุ.) อายนะคือลิ้น, ชิวหาประ สาท (หมายเอาประสาทรับรู้รส).
  41. ตนุ ตนุก : (วิ.) ละมุนละม่อม, ละเอียด, ห่าง, น้อย, เล็ก, ผอม, เบา, บาง, บางเบา. ตนุ ตนุกรเณ, อุ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  42. ติตฺถายตน : (นปุ.) ลัทธิแห่งเดียรถีย์.
  43. เตน : (อัพ. นิบาต) เพราะ, ด้วยเหตุนั้น, เพราะเหตุนั้น. การณตฺเถ นิปาโต.
  44. ทูรกนฺตน : นป. การกำจัดให้ไปในที่ไกล, การถูกขับไล่ให้ได้รับความอดสู, การทรยศต่อประเทศชาติ
  45. เทวตฺตน : นป. ดู เทวตฺต
  46. ธมฺมจกฺกปฺปวตฺตน : (นปุ.) การยังจักรคือ ธรรมให้เป็นไป, การยังจักรคือธรรมให้หมุนไป.
  47. ธมฺมายตน : (นปุ.) ที่เป็นที่ต่อแห่งอารมณ์, ที่เป็นที่ต่อแห่งอารมณ์ที่เกิดกับใจ, แดนแห่งธรรมารมณ์, แดนคือธรรมารมณ์, อายตนะคืออารมณ์ที่เกิดกับใจ, ธรรมา-ยตนะ คือเรื่องที่ใจรู้ อารมณ์ที่ใจรู้.
  48. นเกตน : (นปุ.)
  49. นิเกต, นิเกตน : นป. อาคาร, ที่อยู่, ที่อาศัย, บ้าน, เรือน
  50. นิปตน : (นปุ.) การตกไปโดยไม่เหลือ, การตก, การหล่น, การล้ม, การตกไป, ฯลฯ, ความตก, ฯลฯ. นิปุพฺโพ, ปตฺ ปตเน, ยุ.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-355

(0.0419 sec)