ตร : (ปุ.) แพ วิ. ตรติ อเนนาติ ตโร. ตรฺ ตรเณ, อ.
พหุตร : (วิ.) มากกว่า. พหุ+ตร ปัจ.
ตริ ตรี : (อิต.) เรือ, สำเภา, กำปั่น, แพ. ตรฺ ตรเณ. รูปฯ ลงอิ ปัจ. อภิฯ ลง อี ปัจ.
ตรี : (ปุ. อิต.?) เครื่องนุ่งห่ม, ทางเดิน. ตรฺ ธารเณ, อี.
ตรุ : (ปุ.) ต้นไม้, กอไม้. วิ. ตรนฺติ อเนนาติ ตรุ. ตรฺ ตรเณ, อุ. รูปฯ ๖๓๕ ลง ณุ ปัจ. ไม่มีฆะ.
ติร : (วิ.) ต่ำ, ต่ำต้อย,ต่ำทราม. ติรฺ อโธคติยํ, อ.
ตีร : (นปุ.) ท่าน้ำ,ฝั่ง,ตลิ่ง,เตียร,เดียร,วิ. ชลํ ตายตีติ ตีรํ. ตา ปาลเน, โร, อาสฺสี. ตีรฺ กมฺมสามตฺถิเย, อ. เป็น ติร บ้าง . ส ตีร.
ตุร : (วิ.) รีบ, เร็ว, พลัน, ด่วน. ตุรฺ สีฆคติยํ, อ.ตุร.
ตุริ : (นปุ.) วัตถุไปเร็ว, กระสวย. ตุรฺ สีฆคติยํ, อิ.
กตฺตริ, - ริกา, - ตรี : อิต. กรรไกร, ตะไกร, มีด; กลาสี
จตุกฺกงฺคุตฺตร : (ปุ.) จตุกกนิบาต, อังคุตตรนิ- กาย.
จิรตร : อ. นานกว่า, ยั่งยืนกว่า
ตนุตร : ค. บางกว่า, น้อยกว่า
ติโร : (อัพ. นิบาต) ภายนอก, ขวาง, ปิด, โดยขวาง, ในเบื้องขวาง, ในภายนอก. รูปฯ นามกัณฑ์ว่าลงในอรรถสัตมี.
ตุร, ตูริย :
นป. ดู ตุริย
นวกตร : ค. ใหม่กว่า, อ่อนกว่า
นิรุตฺตร : ค. ซึ่งไม่มีผู้อันยิ่งกว่า, ผู้สูงสุด, ผู้ประเสริฐสุด, ซึ่งไม่น่าตอบ
ปฐมตร : อ. ก่อนกว่า, แรกที่สุด
อติเรกตร : (วิ.) มากกว่า, ยิ่งกว่า, ลาภเกินกว่ากำหนด, อติเรกลาภ คือของที่ได้มามากกว่าที่กำหนดไว้ได้มาเกินจากรายได้ปกติของที่ได้มาเป็นครั้งคราว.ส.อติเรกลาภ.
อติเรก, อติเรกตร : ก. วิ. มากยิ่ง, มากกว่า
อธิกตร : ค. มากยิ่งกว่า
อุตฺตริ, - ตรี : ก. วิ. ส่วนบน, ข้างบน, เหนือยิ่ง, กว่านั้น
กาตร : (วิ.) ไม่หาญ, ไม่แน่ใจลงไป, ทำให้ ฉงน. กุศัพท์ ตร ปัจ. แปลง กุ เป็น กา หรือ กุบทหน้า ตรฺธาตุในความข้าม อ ปัจ. วิ. อีสํ ตรติ สการิยํ กตฺตุ สกฺโกตีติ กาตโร. อภิฯ. ส. กาตร.
กตฺถ กตฺร : (อัพ. นิบาต) ใน...ไหน, ใน...ไร, ในไหน, ในไร. กึ ศัพท์ ตฺถ, ตฺร ปัจ. แปลง กึ เป็น ก.
กุตฺถ กุตฺร : (อัพ. นิบาต) ใน...ไหน, ใน...ไร, ในไหน, ในไร. วิ. กสฺมึ ฐาเน กุตฺถ กุตฺร กึ ศัพท์ ตฺถ ตฺร ปัจ. ส. กุตฺร.
ขชฺชนฺตร : (นปุ.) ขัชชันตระ ขัชชันดร ชื่อ ขนมหวานชนิดหนึ่ง.
เชตุตฺตร : (นปุ.) เชตุดร ชื่อนครพิเศษ ๑ ใน ๒0 ของอินเดียโบราณ. วิ. เจติยรรฏฺเฐ อุตฺตมตฺตา เชตุตฺตรํ. แปลง จ เป็น ช ม เป็น ร. เวริชยฏฺฐานตฺตา เชตพฺพํ จ ตํ อุตฺตมตฺตา อุตฺตรํ จาติ วา เชตุตฺรํ. เป็น เจตุตฺตร บ้าง.
ตตฺถ ตตฺร : (อัพ. นิบาต) ใน...นั้น, ในที่นั้น วิ. ตสฺมึ ฐาเน ตตฺถ ตตฺร วา. ต ศัพท์ ตถฺ ตรฺ ปัจ.
ตรจฺฉ : (ปุ.) เสือดาว, หมาป่า, หมาไน. ตรฺ ตรเณ, โฉ. แปลง ฉ เป็น จฺฉ หรือไม่แปลง ซ้อน จฺ ก็ได้.
ตรณ : (นปุ.) อันข้าม, อันข้ามไป, อันข้ามน้ำ ไป, อันข้ามแม่น้ำไป, การข้าม, ฯลฯ, เรือ. ตรฺ ตรเณ, ยุ. ส. ตรณ.
ตรล : (วิ.) กลิ้ง, โคลง, ไหว, หวั่นไหว, หมุนรอบตัว, ลอยไป, ปลิวไป. ตรฺ สมฺภมปฺลวเนสุ, อโล.
ตรุณี : (อิต.) หญิงรุ่น,หญิงสาว. ตรฺ ตรเณ, อุโณ, อิตฺถิยํ อี หรือลง ยุ ปัจ.แปลงเป็น อณ เป็น ตรณ แปลง อ ที่ ร เป็น อุ แล้วลง อี อิต.
ตาลุ : (ปุ.) เพดาน, เพดาลปาก. วิ. ตลนฺติ เอตฺถ ทนฺตาติ ตาลุ ( เป็นที่ตั้งแห่งฟัน). ตลฺ ปติฏฺฐายํ ณุ. รูปฯ ๖๓๕ ตั้ง ตรฺ ตรเณ, ณุ. แปลง ร เป็น ล. ส. ตาลุ.
ติ : (ไตรลิงค์) สาม. ส. ตฺรย ตฺริ ไตฺร.
ติตฺถ : (นปุ.) ท่า, ท่าน้ำ, ท่าเป็นที่ข้าม, ท่า ข้าม, ทิฏฐิ คือความเห็นนอกพุทธศาสนา, ลัทธิ ( นอกพุทธศาสนา), อุบาย ( เหตุ ), น้ำศักดิ์สิทธิ์. ตรฺ ปฺลวนตรเณสุ, โถ, อสฺส อิตฺตํ, ทฺวิตฺตํ ( แปลง ถ เป็น ตฺถ), รโลโป. หรือแปลง รฺ เป็น ตฺ ก็ไม่ต้องแปลง ถ เป็น ตฺถ. ส. ตีรถ.
ติปฺป ติพฺพ : (วิ.) ล้ำ, ยิ่ง, นักหนา, หนักหนา, ( มากยิ่ง ยิ่งนัก), ทึบ ( ป่า....) วิ. ตรติ อติกฺกมตีติ ติปฺปํ ติพฺพํ วา. ตรฺ ตรเณ อ. แปลง อ เป็น อิ ร เป็น พ ซ้อน พฺ ศัพท์ หน้าแปลง พ เป็น ป ซ้อน ปฺ.
ติริม : (นปุ.) หมอก. ติรฺ อโธคติยํ, อิโย.
ติริย : (วิ.) ขวาง, กว้าง. ติรฺ อโธคติยํ, อิโย.
ติรีฏก : (นปุ.) เปลือกไม้. ตรฺ ตรเณ, อีโต, สกตฺเถ โก ตสฺส โฏ, อสฺสิ.
ตีรณ ตีรน : (วิ.) ตรวจตรา,ตริตรอง,เทียบ ทาน ( หาเหตุผล). หาเหตุผล, สอบสวน, พิจาร, พิจารณา,ตัดสิน, วัด ( สอบขนาด หรือปริมาณของสิ่งนั้นๆ). ตีรฺ กมฺมสาม ตฺถิเย, ยุ.
ตุณฺณ : (วิ.) พลัน, เร็ว, ด่วน. ตุรฺ สีฆคติยํ, ยุ. แปลง รฺ เป็น ณฺ ยุ เป็น อณ.
ตุริต : (วิ.) รีบ,เร็ว, พลัน, ด่วน. ตรฺ ตรเณ, โต, อสฺสุ, อิอาคโม. ตุรฺ สีฆคติยํ วา, โต, อิอาคโม.
โตรณ : (นปุ.) เสาค่าย, เสาระเนียด, ทวาร, โขนทวาร (ประตูป่า ประตูป่าที่ทำตาม ตำราพราหมณ์), เสาไต้, ซุ้ม. วิ. ถวนฺตา รณนฺตฺยเตรติโตรณํ. ถิ+รณ แปลง อิ เป็น โอ ถฺ เป็น ตฺ. อุปริมาลาทิยุตฺตโสภณ- ถมฺภทฺวย มุภยโต นิกฺขมิตฺวา ยํ พหิทฺวารํ กปฺปิยเต ตํ โตรณํ. ตุรฺ สีฆคติยํ, ยุ. ส. โตรณ.
ถรุ : (ปุ.) ด้าม เช่นด้ามกระบี่เป็นต้น วิ. ตรตีติ ถรุ. ตรฺ ตรเณ, อุ, ตสฺส โถ, อถวา, ถรฺ สตฺถคติยํ, อุ. ถรุ เป็นชื่อของอาวุธทั่วๆ ไปก็มี เพลงอาวุธ ก็แปล.
ถานนฺตร : (นปุ.) ลำดับแห่งตำแหน่ง, ที่อัน พิเศษ, ถานันดร ( ลำดับชั้นบุคคล ลำดับ แห่งยศ บรรดาศักดิ์ หน้าที่ การงาน).
นชฺชนตร : (นปุ.) นัชชันดร ชื่อมหานทีที่ ๕.
พุทฺธนฺตร : (นปุ.) ระหว่างแห่งพระพุทธเจ้า, ระยะแห่งพระพุทธเจ้า, พุทธันดร คือ ระยะเวลาระหว่างพระพุทธเจ้า, พุทธันดร คือ ระยะเวลาระหว่างพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่งกับพระพุทธเจ้าอีกพระ องค์หนึ่ง.
ภนฺตร : (นปุ.) ภันดร ชื่อดาวฤกษ์กลุ่ม ๑, นักษัตรที่ ๑๓. เตรสมณกฺขตฺต ฎีกาอภิฯ.
โลกุตฺตร : ค. โลกุตร, สิ่งที่หลุดพ้นแล้วจากโลก