มาล, - ลก : ป. วงกลม, ดอก
ชาลก : (นปุ.) ดอกเพิ่งผลิ, ผลเพิ่งผลิ, ดอก เพิ่งจะผลิผล. ชลฺ ธญฺเญ, โณ, สกตฺเถ โก.
ทุพฺพปุปฺผ : (นปุ.) ดอกแห่งหญ้าพรก, ดอก หญ้าแพรก. ทุพฺพา+ปุปฺผ รัสสะ.
อุมฺมุก : (นปุ.) ฟืน, ลูกไฟ, ประกายไฟ, ดอก ไฟ, ถ่านไฟ. วิ. อุทฺธํ ธูมํ มุญฺจตีติ อุมฺมุกํ. อุทฺธํปุพฺโพ, มุจฺ มุญฺจเน, อ. โมคฯ วิ. อุสฺตีติ อุมฺมุกํ. อุสฺ ทาเห, อุโก, สสฺส โม, ทฺวิตฺตํ.
ชยสุมน : (นปุ.) ชยสุมนะ ชื่อของต้นไม้ที่มี ดอกสีแดง เช่น หงอนไก่ ชบา, ดอกชบา, ดอกชัยพฤกษ์ และดอกคำ, ดอกชัยพฤกษ์ (แปล สุมน ว่า ดอก).
กณิการ : ๑. ป. ไม้กรรณิการ์;
๒. นป. ดอกกรรณิการ์
กทา จิ : (อัพ. นิบาต) ในกาลไหน, บางคราว, ดอกกระมัง.
กปฺปรุกฺข : (ปุ.) ต้นไม้อันยังความปรารถนา ให้สำเร็จ, ต้นไม้อันยังประโยชน์ให้สำเร็จ ดังใจนึก (ปรารถนา), ต้นไม้อันตั้งอยู่ตลอดกัป, ทิพยพฤกษ์, ต้นกัลปพฤกษ์ ชื่อ ต้นไม้ชนิดหนึ่ง จำพวกคูน หรือราชพฤกษ์ ดอกสีชมพู.
กลฺลหาร : (นปุ.) จงกลณี (บัวดอกคล้ายบวบ ขม) วิ. กสฺส ชลสฺส หารํ วิย โสภากรตฺตา กลฺลหารํ. ก+หาร ลง ลฺ อาคมหลัง ก แปลง ลฺ เป็น ลฺล เป็น ปุ. บ้าง.
กุตุมฺพก : ป. ดอกกุตุมพกะ (ชื่อดอกไม้ชนิดหนึ่งในอินเดีย)
กุนฺตาล : (นปุ.) กระไดลิง, ลางลิง, (เถาวัลิชนิด หนึ่ง), ดอกคาง, ดอกเข็ม, ดอกตาเสือ.
กุมุทวณฺณ : ค. มีวรรณะดังดอกโกมุท, มีผิวพรรณเหมือนดอกบุณฑริก, มีสีเหมือนดอกบัวขาว
กุยฺยก : นป. ดอกสารภี, หมากพลับ
กุวลย : นป. ดอกบัว, ดอกอุบล
กุสุมิต : ค. มีดอก, กำลังผลิดอก, มีดอกบานสะพรั่ง
ขุทฺทปุปฺผิย : (ปุ.) ชิงช้าชาลี ชื่อเถาวัลิชนิด หนึ่ง ใช้ทำยาไทย, เข็ม, ต้นเข็ม, ดอกเข็ม.
คุคฺคุล คุคฺคุฬ คุคฺคฬุ คุคฺคุฬุ : (ปุ.) ไม้กำกูน, ไม้กำคูน(สองชื่อนี้ เป็นไม้อย่างเดียวกัน), ภาษาเก่าใช้ว่า คำคูน คำคูล. คูน ต้นคูน (ดอกเป็นช่อยาวสีเหลืองราชพฤกษ์ก็เรียก). โรคหรเณ คุรุโนปิ เวชฺชสฺส คุรุ คุคฺคุฬุ.
คุนฺทา : (อิต.) กะเม็ง, ต้นกะเม็ง, หญ้ากะเม็ง ชื่อของต้นหญ้าเล็กๆ ไม่มีแก่น ขึ้นตามที่ ชื้นแฉะ ใบเขียว มีขนคาย ดอกขาว ใช้ ทำยาเด็กเป็นต้น, หญ้าปากกา. คุ สทฺเท, โท, นิคฺคหิตาคโม.
คุรุสารา : อิต. ดอกกล้วยไม้
ฆนปุปฺผ : (นปุ.) เครื่องลาดขนสัตว์มีรูปดอก ไม้ติดกัน วิ. ฆนํ สนฺธิภูตํ ปุปฺผ เมตสฺสา- ติ ฆนปุปฺผํ.
จญฺจาล : (นปุ.) ดอกคล้า.
จมฺปกนีลุปฺปลาทิเภท : (วิ.) อันต่างด้วยดอกไม้ มีดอกจำปา และดอกอุบลเขีนวเป็นต้น.
ฉท : (ปุ.) ใบ, ใบไม้, ปีก, ปีกนก, ฝัก, ดอกตูม, หลังคา. ฉทฺ สํวรณอปวารเณสุ, อ. อภิฯ ลง ณ ปัจ. ส. ฉท.
ฉพฺพณฺณรสิ : (อิต.) รัศมีมีสีหก. ฉัพพัณณรังษี. รัศมี ๖ ประการนี้ คือ เขียวเหมือนดอก – อัญชัน เรียกนีละ ๑ เหลืองเหมือน หอ – ระดาล เรียก ปีตะ ๑ แดงเหมือน ตะวัน อ่อน เรียก โลหิตะ ๑ ขาวเหมือนแผ่นเงิน เรียก โอทาตะ ๑ สีหงสบาทเหมือนดอก เซ่งหรือดอกหงอนไก่ เรียกมัญเชฏฐะ ๑ เลื่อมพรายเหมือนแก้วผนึก เรียก ปภัสสร รัศมีทั้ง ๖ นี้ แผ่เป็นวงกลมอยู่ เบื้องหลังพระเศียรของพระพุทธเจ้า. พระ พระอรหันต์ทั้งหลาย แม้พระอัครสาวก ก็ ไม่มีรัศมีทั้ง ๖ นี้.
ชยกุสุม : (นปุ.) ดอกชัยพฤกษ์, ดอกคำ.
ชยสุมนาลตฺตกปาฏลวณฺณ : (วิ.) มีสีเพียง ว่าสีแห่งดอกชัยพฤกษ์และสีครั่งและ ดอกแค. เป็น ฉ. อุปมาพหุพ. มี อ.ทวัน. เป็นท้อง.
ชวสุมนา : (อิต.) ดอกชบา
ชาติ : (อิต.) มะลิ, ดอกมะลิ.
ตกฺกฬ : นป. หัวหอม, หัวกระเทียม ; ดอกซ่อนกลิ่น
ทพฺภปุปฺผ, - พปุปฺผ : นป. ดอกหญ้าคา
ธมน : (ปุ.) ไม้อ้อ, ไม้เลา (ต้นไม้จำพวกอ้อ ดอกสีขาวมอๆ). ธมฺ สทฺทคสิสํโยเคสุ. ยุ.
นาคปุปฺผ : นป. ดอกกากะทิง, ดอกนากพุด, ดอกกะถินพิมาน
นารีปุปฺผ : (นปุ.) ดอกไม่ของหญิง, ระดูของ หญิง, ประจำเดือน (โรคประจำเดือนของ หญิง เลือดที่ออกจากมดลูกเป็นประจำ เดือน).
ปทฺทม : (นปุ.) ดอกบัว, ดอกปทุม, ปัททมะ ชื่อสังขยาจำนวน ๑๐๐ โกฏิ.
ปุปฺผิต : ค. ซึ่งผลิดอก, ซึ่งบาน
โปฏคล : (ปุ.) ต้นเป้ง, หญ้าเลา หญ้าดอกเลา (ต้นไม้พวกอ้อดอกสีขาวมอๆ), หญ้าปล้อง ชื่อหญ้าชนิดหนึ่งต้นเป็นข้อๆ ในข้อมีไส้เป็นปุยขาว ชอบขึ้นในน้ำ, ต้นอ้อ, ไม้อ้อ, ต้นเป้ง. วิ. ปุฏ มญฺญมญฺญสํสคฺคํ คจฺฉตีติ โปฏคโล. ปุฏปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, อ, อุสฺโส, มสฺส โล.
ผลติ : ก. ย่อมมีผล, ผลิดอกออกผล, สุก, แก่
พกุลวณฺณ : ค. ซึ่งมีสีเหมือนสีของดอกพิกุล
พนฺธุกรุจิร : ค. ซึ่งงามประดุจดอกชบา
ภงฺค : (ปุ.) ระลอก, คลื่น, ภังคะ, ภางค์. วิ. สยเมว ภิชฺชตีติ ภงฺโค. ภญฺชฺ อวมทฺทเน, อ. แปลง ช เป็น ค ญฺ เป็น นิคคหิต แล้วแปลงเป็น งฺ. จันทร์กะพ้อ ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่ง ดอกขาวคล้ายดอกพะยอมหอมคล้ายดอกจันทน์?.
ภทฺทมุตฺต : (นปุ.) กะเม็ง ชื่อหญ้าต้นเตี้ยๆ ไม่มีแก่น ลำต้นสีม่วง ใบเขียวมีขนคายดอกขาว ชอบขึ้นในที่ชื้นแฉะ ใช้ทำยา, หญ้าปากกา. มุจฺ โมจเน, โต. โรคหรณตฺตา ภทฺทญฺจ ตํ มุตฺตญฺเจติ ภทฺทมุตฺตํ.
ภวาสว : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ไหลไปในภพ, กิเลสเครื่องหมักดอกในภพ, อาสวะเป็นเหตุอยากเป็น, อาสวะ คือ ภพ, ภาสวะ (ความหมกมุ่นอยู่ในภพ).
มธุวาสว : ป. เหล้าที่ทำจากดอกมะซาง
มนฺทารว : (ปุ.) ดอกมณฑารพ?
มลฺลิกา : (อิต.) มัลลิกา ชื่อพระมเหสีของพระเจ้าแผ่นดิน, ดอกมะลิ, มะลิซ้อน, ต้นมะลิ. วิ. มลฺยเต สพฺเพหีติ มลฺลิกา. มลฺลฺ ธารเณ, อิ, สกตฺเถ โก, อิตฺถิยํ อา.
มลาคนฺธวิเลปนธารณมณฺฑนวิภูสนฏฺฐาน : (นปุ.) การทัดทรงและการประดับและการตกแต่งร่างกายด้วยดอกม้าและของหอมและเครื่องประเทืองผิวอันเป็นฐานะแห่งการแต่งตัว, ฐานะอันเป็นที่ตั้งแห่งการทัดทรงและการประดับและการตกแต่งด้วยดอกไม้และของหอมและเครื่องลูบไล้ (เครื่องย้อมเครื่องทา), การทัดทรงการประดับและการตกแต่งร่างกายด้วยดอกไม้ของหอมเครื่องย้อมเครื่องทาอันเป็นฐานะแห่งการแต่งตัว.
มุณฺฑา : (อิต.) ผักโหมหลวง, ชะเอม, คันทรง. คันทรงมี ๒ ชนิด เป็นต้นไม้ขนาดเล็กดอกสีเหลืองใช้ทำยา อีกชนิดหนึ่งเป็นไม้เถา ขึ้นตามป่าในที่ดินทรายใกล้ทะเล. สีหฬ เป็น มุพฺพา.
มูลนิธิ : (ไตรลิงค์) ทรัพย์อันบุคคลเก็บไว้เป็นต้นทุน, มูลนิธิ ชื่อทรัพย์สินอันตั้งไว้เป็นทุนเก็บแต่ดอกผลมาใช้ในการกุศลหรือประโยชน์สาธารณะ ต้องจดทะเบียนตามกฏหมาย.
วสฺสิกา, วสฺสิกี : อิต. ดอกมะลิ
สมณปุณฺฑรึก : (ปุ.) สมณะเพียงดอกบัยวขาว.