Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ดิรัจฉานวิชา, ดิรัจฉาน, วิชา , then ดรจฉานวชา, ดิรัจฉาน, ดิรัจฉานวิชา, ติรจฺฉาน, วิช, วิชา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ดิรัจฉานวิชา, 57 found, display 1-50
  1. วิชาตา : อิต. คลอดแล้ว
  2. วิชาติก : ค. ต่างชาติ
  3. วิชานาติ : ก. รู้แจ้ง
  4. วิชายติ : ก. คลอด
  5. ปริชานน : (นปุ.) การกำหนดรู้, ความกำหนด รู้, วิ. ปริฉินฺทิตฺวา ญาณํ ปริชานนํ. ความรู้รอบ, ความรอบรู้, วิชา, ปัญญา. ปริปุพฺโพ, ญา อวโพธเน, ยุ.
  6. มนฺตา : (อิต.) ปรีชา, วิชา, ปัญญา. มนฺ ญาเณ, อนฺโต. ลบที่สุดธาตุ. อภิฯ.
  7. ปฏิวิชานาติ : ก. รู้เฉพาะ, เข้าใจชัด
  8. ติรจฺฉาน : ป. ผู้ไปขวาง, สัตว์เดียรฉาน
  9. โกมารภจฺจ : ๑. นป. วิชาสำหรับรักษาโรคเด็ก, กุมารเวชวิทยา; ๒. ค. ผู้ที่เจ้าชายชุบเลี้ยง (หมายถึงหมอชีวกโกมารภัจ)
  10. คณนา : (อิต.) การนับ, ฯลฯ, วิชาคำนวณ.
  11. คณาจริย : (ปุ.) อาจารย์ของหมู่, คณาจารย์ (อาจารย์ของมหาชน). ภาษาพูด เรียก พระที่มีวิชาอาคมขลังว่าพระคณาจารย์ ซึ่งมีความหมายไม่ตรงกับศัพท์นี้.
  12. คนฺธพฺพา : (อิต.) วิชาระบำ.
  13. คนฺธารี : (อิต.) วิชาหายตัวได้.
  14. โจริกา : (อิต.) กิริยาแห่งขโมย, กิริยาอันเป็น ของแห่งโจร, วิชาอันเป็นของแห่งโจร, การทำของโจร. วิ. โจรสฺส กมฺมํ โจริกา. ณิกปัจ.
  15. ชีวิตสีสี ชีวิตสทสีสี : (วิ.) ผู้มีกิเลสศรีษะสิ้น พร้อมด้วยชีวิต, ผู้มีกิเลสอันเป็นประธาน สิ้นไปพร้อมกับการสิ้นชีวิต, ผู้สิ้นกิเลส อันเป็นประธานพร้อมกับสิ้นชีวิต. กิเลส ที่เป็นประธานคืออวิชา. คำว่าสิ้นกิเลส พร้อมกับสิ้นชีวิตนั้นมิได้หมายความว่า เกิดพร้อมกันในวิถีจิตเดียวกัน อรหัตต – มัคคจิตเกิดประหาณ อวิชชาแล้ว ชีวิติน- ทรีย์ เจตสิกละรูปจึงดับ แม้ว่าจะห่างกัน หลายวิถีจิตก็จริง แต่เมื่อว่าโดยเวลาแล้ว ความดับกิเลสและสิ้นชีวิตก็กล่าวได้ว่าดับ ลงพร้อมกัน เพราะวิถีจิตเป็นไปเร็วมาก.
  16. ติรจฺฉานคต : (ปุ.) สัตว์ดิรัจฉาน วิ. ติรจฺฉาโน เอว ติรจฺฉานคโต. คต สกัด.
  17. ติรจฺฉานชาต : (ปุ.) สัตว์ดิรัจฉาน. ชาตสกัด.
  18. ติรจฺฉานโยนิ : (อิต.) กำเนิดแห่งสัตว์ดิรัจฉาน.
  19. ติรจฺฉานวิชฺชา : (อิต.) วิชาขวาง, วิชาขวาง ทางไปนิพพาน, ติรัจฉานวิชา คือความรู้ที่ไร้สาระ ความรู้ที่ไม่เป็นประโยชน์ วิชาที่ไม่ทำตนให้พ้นจากทุกข์ซึ่งพระพุทธเจ้า ทรงห้ามมิให้ภิกษุ - สามเณรศึกษา เช่น วิชาทำเสน่ห์ยาแฝดเป็นต้น.
  20. ตุณฺฑ : (นปุ.) ปาก, หน้า, จะงอย ( ปลายหรือ ที่สุดของปากสัตว์ดิรัจฉาน) , จะงอยปาก. ตุทิโตฑเน, อ, นิคฺคหิตาคโม. ตนุ วิตฺถาเร วา, โฑ, อสฺสุตฺตํ, นสฺส ณตฺตํ เป็น ตุณฺฑิ บ้าง ?
  21. เตวิชฺช : (วิ.) ผู้มีวิชาสาม.
  22. ถรุสิปฺป : นป. ศิลปะทางอาวุธ, วิชาฟันดาบ
  23. ทารกติกิจฺฉา : อิต. กุมารเวชศาสตร์, การรักษาโรคเด็ก, วิชารักษาโรคเด็ก
  24. ธนุพฺเพธา : (อิต.) วิชาแผลงศร.
  25. นกฺขตฺตวิชฺชา : (อิต.) ความรู้เรื่องดวงดาว, วิชาดูดาว, วิชาดูฤกษ์ยาม.
  26. นาวิกวิชฺชา : (อิต.) วิชาเดินเรือ, นาวิกวิทยา. ส. นาวิกวิทฺยา.
  27. นิติกร : (ปุ.) คนผู้ทำหน้าที่เกี่ยวกฎหมาย, คนผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการใช้วิชา กฎหมาย.
  28. ปรปุฏฺ : (ปุ.) นกกระเหว่า ชื่อนกผู้อันนกกา ฟักจนคลอดจากไข่เลี้ยงไว้ ( ระยะที่ยังบิน ออกไปไม่ได้ ). วิ. ปเรน วิชาติเยนกาเกน โปสิโตติ ปรปุฏฺโฐ. ปรปุพฺโพ, ปุสฺโปสเน, โต. แปลง ต เป็น ฏฺฐ ลบที่สุดธาตุ.
  29. ปูรณา : (อิต.) วิชาโบราณคดี.
  30. ยูถ : (ปุ. นปุ.) ฝูง, โขลง, หมู่, หมู่แห่งสัตว์ดิรัจฉานผู้มีชาติเสมอกัน. วิ. สชาติยติรจฺฉานานํ คโณ ยูโถ. ยุ มิสฺสเน, โถ.
  31. โยคา : (อิต.) วิชาช่าง.
  32. วิชฺชาธร : ค. ผู้ทรงไว้ซึ่งวิชา
  33. สมฺมติ : (อิต.) อันรู้ตาม, การรู้ตาม, โวหาร, ถ้อยคำ, วิชาว่าด้วยระเบียบ. ติ ปัจ.
  34. สมาส : (ปุ.) การย่อ วิ. สมเสนํ สํขิปินํ วา สมาโส. ศัพท์อันท่านย่อ ศัพท์อันท่านย่อเข้า วิ. สมสิยเตติ สมาโส. สํปุพฺโพ, อสฺ สํขิปเน, โณ. สมาส ชื่อของวิชาไวยากรณ์อย่างหนึ่ง คือ การย่อมนามศัพท์ตั้งแต่สองศัพท์ขึ้นไปเข้าเป็นบทเดียวกัน. ส. สมาส.
  35. สิปฺป : (นปุ.) สิปปะ ศิลปะ. วิชาความรู้ที่ได้มาจากการศึกษาทุกอย่าง ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการประกอบกิจเลี้ยงชีวิตในทางสุจริต เรียกว่า สิปปะ หรือ ศิลปะตามภาษาสันสกฤต พระพุทธเจ้าตรัสว่าเป็นมงคลคือเหตุที่ทำให้ผู้ปฏิบัติตามถึงความเจริญ เป็นมงคลที่ ๘ ในมงคล ๓๘ . สิกฺขฺ วิชฺโชปาทาเน, ปฺปปจฺจโย, กฺขฺโลโป, สิ สยเสวาสุ วา, ปฺปปจฺจโย, สปฺปฺ คติยํ วา, อ, อสฺสิ. คำ ศิลปะ ไทยใช้ความว่าฝีมือทางการช่าง ที่ผู้ทำทำได้คล่องแคล่วกว่า หรือดีเด่นกว่า งดงามกว่าช่างด้วยกันหรือสิ่งที่สำเร็จจากฝีมือนั้น ทำให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจได้ดีกว่าช่างอื่น. ส. ศิลฺป.
  36. หตฺถสิกฺขา : (อิต.) การศึกษาวิชาเนื่องด้วยมือ, หัตถศึกษา คือวิชาเกี่ยวกับการประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆด้วยมือ. วิ. หตฺถพทฺธวิชฺชาย สิกฺขา หตฺถสิกฺขา. ลบ พทฺธวิชฺชา.
  37. หตฺถสิปฺป : (นปุ.) วิชาเนื่องด้วยมือ, หัตถศิลป์ คือวิชาเกี่ยวกับการใช้มือทำสิ่งต่าง ๆ หัตถศิลป์ ไทยใช้ในความหมายว่า การช่างทำด้วยมือ.
  38. โหร : (ปุ.) บุคคลผู้รู้วิชาโหร, บุคคลผู้พยากรณ์ตามวิชาโหร.
  39. โหรา : (อิต.) วิชากล่าวด้วยเหตุในเบื้องหน้าและเหตุในอดีต วิ. หุรํ การเณน จ อดีตการเณน จ วจตีติ โหรา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  40. โหราจริย : (ปุ.) อาจารย์ผู้รู้วิชาโหร.
  41. โหราสตฺถ : (นปุ.) ตำราวิชาโหร, คัมภีร์วิชาโหร, โหราศาสตร์ (ตำราว่าด้วยการพยากรณ์โดยอาศัยดาราศาสตร์เป็นหลัก).
  42. อกฺขรสมย : (ปุ.) การรู้แจ้งในอักขระ, ความรู้แจ้งในอักขระ, อักขรสมัย(วิชาว่าด้วยหนังสือ).
  43. องฺควิชฺชา : (อิต.) วิชาทำนายอวัยวะ, วิชาดูลายมือ, วิชาดูลักษณะแห่งบุรุษสตรี, วิชาดูฤกษ์ยาม.
  44. อนฺเตวาสิก : (ปุ.) ชนผู้มีความอยู่ในภายในเป็นปกติ, ศิษย์, อันเตวาสิกคือผู้ที่ตนสวดให้ในคราวอุปสมบทหรือผู้ที่ตนสอนวิชาให้.วิ.อนฺเตวาสิโก.อนฺเตวาสิโกส. อนฺตวา-สินอนฺเตวาสิน.
  45. อหิวิชฺชา : อิต. วิชาหมองู คือการทายโชคชาตาโดยอาศัยงู
  46. อายุเวท : ป. อายุรเวท, วิชาเกี่ยวกับการรักษาโรค
  47. อิติหาสา : (อิต.) วิชากาพย์, ตำนาน.
  48. อุทกสตฺถ : (นปุ.) อุทกศาสตร์ วิชาที่กล่าวถึง น้ำ การแปรปรวนของน้ำ เกี่ยวกับการวัด หรือการสำรวจแผนที่ทะเล.
  49. ติรจฺฉ ติรจฺฉาน : (วิ.) เดือนมืด, คืนเดือน มืด. วิ. ติมิสํ อุสฺสนฺนํ เอตถาติ ติมิสิกา ติมีสิกา วา.
  50. วิชหน : นป. การละ, การสละ
  51. [1-50] | 51-57

(0.0658 sec)