ขีล : (วิ.) กระด้าง, ดื้อ, ตรึงตรา (ติดแน่น). ขีลฺ ปฏิตฺถมเถ, อ.
อปฺปติสฺส, - ติสฺสว : ค. ว่ายาก, สอนยาก, ดื้อ, ไม่เชื่อฟัง
ฐียติ : ก. ดื้อดึง, โกรธแค้น
ถทฺธ : (วิ.) ดื้อ, ดื้อด้าน, ดื้อดึง, แข็ง, กระด้าง, แข็งกระด้าง, แน่น, แน่นหนา, มั่น, ตระหนี่, หยิ่ง, เย่อหยิ่ง. ถภิ ปติพนฺธเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ.
ถมฺภ : (วิ.) ดื้อ, ดื้อด้าน, ดื้อดึง, กระด้าง, แข็ง, แข็งกระด้าง. ถภิ ปติพนฺธเน, อ.
ถมฺภี : ค. ผู้มีความหัวดื้อ, ความดื้อรั้น
โทวจสฺสตา : อิต. ภาวะแห่งความเป็นคนดื้อรั้น
นิชฺฌาน : (นปุ.) การดู, การแลดู, การเห็น, การแพ่ง, การพินิจ, การพิจาร, ปัญญา อุ. นิชฺฌานพลา ปณฺฑิตา บัณฑิตท. มี ปัญญาเป็นกำลัง. นิปุพฺโพ, เฌ ฌาน- ญาเณสุ, ยุ. แปลง เอ เป็น อา.
ปติฏฺฐิยติ, ปติฏฺฐียติ : ก. ดื้อดึงขึ้งเคียด, โกรธแค้น, หมายขวัญ
ปทรสมาจาร : ค. ผู้มีความประพฤติทราม, ผู้มีมรรยาทหยาบคาย, ผู้ดื้อดึง
พฺรหฺมทณฺฑ : (ปุ.) ไม้แห่งพระพรหม, อาชญาของพระพรหม, อาชญาอันประเสริฐ, พรหมทัณฑ์ ชื่อ การลงโทษอย่างสูงอย่างหนึ่งของพุทธศาสนา คือห้ามไม่ว่ากล่าวภิกษุหัวดื้อว่ายากสอนยากห้ามไม่ ให้ใครพูดด้วย. ปัจจุบันนี้ยังใช้ได้ผลหรือไม่?
สนฺทิฏฐปรามาสี : (วิ.) ผู้มีความถือมั่นในความเห็นของตน, ผู้มีความยึดมั่นในความเห็นของตน, ผู้ถือมั่นในความเห็นของตน, ผู้ยึดมั่นในความเห็นของตน, ผู้ถือมั่นแต่ความเห็นของตน, ผู้ยึดถือแต่ความเห็นของตน, ผู้ดื้อรั้น.
อาธานคาหี : ป. คนดื้อด้าน, คนว่ายากสอนยาก
คุมฺพ : (ปุ.) กอ, กอไม้, พง, พุ่ม, พุ่มไม้, ซุ้ม ไม้, สุมทุม (ซุ้มไม้ที่ปกคลุมด้วยต้นไม้ และเถาวัลย์) หมู่, พวก, ฝูง, ประชุม, กอง, คณะ, กลุ่มก้อน, กองทหาร, ขบวนทัพ, เสา. คุปฺ รกฺขเณ, โพ, ปสฺส โม. คุมฺพฺ คุมฺพเน วา, อ.
ปุพฺพงจริต : นป. ความประพฤติอันมีมาก่อน, เรื่องราวที่ล่วงมาแล้ว
อฏวี : (อิต.) ป่า, หมู่ป่า, ป่าใหญ่, ดง, พง.อฎฺ คมเน, อโว, อิตฺถิยํ อี. อถวา, อาสทฺโทอุทฺธิคมนตฺเถ, ฏุ วิรูหเน, โณ, อิตฺถิยํอี.ส. อฎวี.
ฌายติ : ก. เพ่ง, ตรึก; เผา, ไหม้
นุตฺต : กิต. ซัด, พุ่ง, ยิง
ปชฺฌายติ : ก. เพ่ง, ตรึกตรอง
เปกฺข : (วิ.) ดู, เห็น, ปรากฏ, เพ่ง, มุ่ง, จดจ่อ. ป+อิกฺขฺ+ณ ปัจ.
อตฺต : (วิ.) ซัด, พุ่ง, ยิ่ง. อสุ เขปเน, โต.
อนุสญฺเจเตติ : ก. เพ่ง, ตรึก, พิจารณา
อปชฺฌายติ : ก. เพ่ง, พิจารณา
อปโลกี : ค. มองดู, เพ่ง, ระวัง, เตือน
อภิชฺฌาติ : ก. อยาก, โลภ, เพ่ง
อิกฺขติ : ก. เห็น, ดู, เพ่ง
โอปมฺม : (วิ.) เปรียบ, อุปมา. วิ. อุปมิยฺยเตเยน ตํ ดอปมฺมํ. อุปปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, โณฺย.
โอปาต : (ปุ.) บ่อ, สระ, ดอปุพฺโพ, ปา ปาเน, โต.