Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ดุษฎีบัณฑิต, บัณฑิต, ดุษฎี , then ดษฎบณฑต, ดุษฎี, ดุษฎีบัณฑิต, บัณฑิต, ปณฺฑิต .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ดุษฎีบัณฑิต, 49 found, display 1-49
  1. ปณฺฑิต : ค., ป. ฉลาด; บัณฑิต, คนฉลาด
  2. ณฏฐ : (ปุ.) ชนผู้ตั้งอยู่ในความรู้, นักปราชญ์, บัณฑิต, ณัฏฐ์, ณัฐ. วิ. ญาณสฺมึ ฐิโตติ ณฏฺโฐ ญาณ+ฐ+ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  3. ตุสน : (นปุ.) ความยินดี, ความแช่มชื่น, ความชื่นชม, ดุษฎี. ตุสฺ ตุฏฺฐยํ, ยุ. ส. ตุษฺฏิ.
  4. ทพฺพ. : (ปุ.) บุคคลผู้ควรหลุดพ้น, บุคคลผู้ควรบรรลุมรรคผล. บัณฑิต. ทุ วุฒิยํ, อพฺโพ.
  5. สุธี : (ปุ.) คนมีปัญญา, นักปราชญ์, บัณฑิต. วิ. โสภนํ ฌายตีติ สุธี. โสภณปุพฺโพ, เฌ จินฺตายํ, อี, ฌสฺส โธ. ลบ ภน เหลือ โส แปลง โอ เป็น อุ. สุนฺทรา ธี อสฺสาติ วา สุธี. ส. สุธี.
  6. ตุฏฺฐปณฺฑิต : (ปุ.) ดุษฏีบัณฑิต เป็นคำเรียก ผู้ที่สอบได้ปริญญาเอกของสถานที่ศึกษา ชั้นอุดมศึกษา. ส. ตุษฺฏิปณฺฑิต.
  7. มหาปณฺฑิต : (ปุ.) คนมีความรู้มาก, คนฉลาดมาก, คนมีปัญญามาก, มหาบัณฑิต เป็นคำเรียกผู้ที่สอบปริญญาโทของสถานต่างๆ ชั้นอุดม.
  8. อติปณฺฑิต : ค. ฉลาดมาก, เป็นบัณฑิตยิ่ง
  9. อติปณฺฑิตตา : อิต. ความฉลาดยิ่ง, ความเป็นบัณฑิตยิ่ง
  10. กทสน กทสฺสน : (นปุ.) อาหารอันบัณฑิต เกลียด วิ. กุจฺฉิตํ อสนํ กทสนํ กทสฺสนํ วา, ลบ จฺฉิต แปลง กุ เป็น กท.
  11. กปณ : (วิ.) ผู้มีฝ่ามืออันบัณฑิตเกลียด, ผู้มีฝ่า มือน่าเกลียด, ตระหนี่. กุจิฉิต+ปณ ลบ จฺฉิต.
  12. กปฺปฏ : (ปุ.) ผ้าอันบัณฑิตเกลียด, ผ้าเปื้อน, ผ้าขี้ริ้ว. วิ. กุจฺฉิโต ปโฏ กปฺปโฏ. ลบ จฺฉิต แปลง กุ เป็น กา รัสสะ ซ้อน ปฺ หรือ ตั้ง กปฺปฺ ธาติในความตรึก อฏปัจ.
  13. กาปุริส : (ปุ.) บุรุษอันบัณฑิตพึงเกลียด, บุรุษชั่ว, คนชั่ว, คนชั่วร้าย, คนเลว. วิ. กุจฺฉิตพฺโพ จ โส ปุริโส จาติ กาปุริโส, ลบอักษรศัพท์หน้า เหลือแต่ กุ แปลง กุ เป็น กา.
  14. กุกมฺม : (นปุ.) กรรมอันบัณฑิตเกลียด, กรรม น่าเกลียด, กรรมชั่ว. กุจฺฉิต+กมฺม.
  15. กุจฺฉิต : (วิ.) ต่ำช้า, เลว, เลวทราม. วิ. กุจฺฉา สญฺชาตา อสเสติ กุจฺฉิโต. ศัพท์ กุจฺฉิต ที่แปลว่า อันบัณฑิตติเตียนแล้ว มาจาก กุสฺ อกฺโกเส, โต สสฺส จฺโฉ, อิอาคโม.
  16. กุชฺชล : (ปุ.) คนอันธพาล (ผู้รุ่งเรืองที่บัณฑิต ติเตียน), ต้นอัญชัน (รุ่งเรืองในแผ่นดิน).
  17. กุมติ : (อิต.) ความรู้อันบัณฑิตเกลียด. กุจฺฉิต+มติ.
  18. กุมตี : (ปุ.) คนพาล (ผู้มีความรู้อันบัณฑิตเกลียด) อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  19. กุสิต : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งความเป็นดุจหญ้าคา, ผู้เกียจตร้าน. กุสปุพฺโพ, อิ คมเน, โต. ผู้จมอยู่โดยอาการอันบัณฑิตพึงเกียด. กุจฺฉิต+สิต.
  20. โกสชฺช : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้จมอยู่โดย อาการอันบัณฑิตพึงเกลียด, ความเป็นแห่ง ผู้เกียจคร้าน. วิ. กุสีทสฺสภาโว โกสชฺชํ. กุสีท + ณฺย ปัจ. ภาวตัท. แปลง อี เป็น อ พฤทธิ อุ เป็น โอ ลบ อ ที่ ท และ ลบ ณฺ รวมเป็น ทยฺ แปลง ทยฺ เป็น ชฺช. รูปฯ ๓๗๑.
  21. ขทิรงฺคชาตก : (นปุ.) ชาดกอันบัณฑิตกำหนด แล้วด้วยถ่านแห่งไม้ตะเคียน.
  22. ขนฺติพล : (วิ.) ผู้มีกำลังอันบัณฑิตนับพร้อม แล้วว่าขันติ วิ. ขนฺติสํขาตํ พลํ อสฺส อตฺถีติ ขนฺติพโล. ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  23. คาถา : (อิต.) วาจาของบุคคลผู้มีปรีชา, คำของ บุคคลผู้มีปรีชา, วาจาอันบัณฑิตผูกไว้, สัททชาติอัณบัณฑิตกล่าว, ลำนำ (บทเพลง ที่เป็นทำนอง), กลอน, บทกลอน, เพลง, เกียรติ, คาถา ชื่อคำประพันธ์ทางภาษา มคธ เรียกคำฉันท์ที่ครบ ๔ บาทว่า ๑ คาถา (ระเบียบเป็นเครื่องอันบัณฑิตขับ) ชื่อองค์ที่ ๔ ของนวังคสัตถุศาสน์. คา สทฺเท, โถ, อิตฺถิยํ, อา. ส. คาถา.
  24. คารยฺหวจ : (ปุ.) คนพูดคำอันบัณฑิตพึงติเตียน, คนพูดเหลวไหล.
  25. จุลหสมหาหสกกฺกฏหชาตก : (นปุ.) ชาดกอัน บัณฑิตกำหนดแล้วด้วยหงส์น้อยและหงส์ ใหญ่และปู.
  26. ชิณฺณพฺยาธิมตสงฺขาต : (วิ.) อันบัณฑิตนับ พร้อมแล้วว่าชนผู้แก่แล้วและชนผู้เป็น พยาธิและชนผู้ตายแล้ว.
  27. ตจปญฺจกกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฎฐานมี ประชุมแห่งอาการห้ามีหนังเป็นที่สุดเป็น อารมณ์ มี วิ. ดังนี้ :- ๑ กณฺ ปัจ. สมุหตัท. ปญฺจนฺนํ อาการานํ สมุโห ปญฺจกํ ฉ.ตุล. ตโจ ปริยนฺโต ยสฺส ตํ ตจ ปริยนฺตํ วิเสสนบุพ.กัม ตจปริยนฺตญฺจ ตํ ปญฺจ- กญฺจาติ ตจปญฺจกํ. ฉ. ตุล ตจปญฺจกํ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ ตจฺปญฺจการมฺมณํ. วิเสสนบุพ.กัม. ตจปญฺจการมฺมณญฺจ ตํ กมฺมฏฺฐานญฺจาติ ตจปญฺจกกมฺมฏฐานํ. นอกจากนี้ยังมีสำนวน แปลอย่างอื่นอีก คือกัมมัฏฐานมีหมวด แห่งส่วนห้าแห่งอาการมีหนังเป็นที่สุด เป็นอารมณ์กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนด ด้วยอาการมีหนังเป็นที่ห้าด้วยอารมณ์, พึง ตั้ง วิ. ตามสำนวนแปล. กัมมัฏฐานนี้เป็น กัมมัฏฐานแรก ซึ่งพระอุปัชฌาย์สอนนาค ก่อนที่จะบรรพชาอุปสมบท สำหรับใช้ ภาวนาจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน เป็น สมถกัมมัฏฐานก็ได้เป็นวิปัสสนากัมมัฏ- ฐานก็ได้ แล้วแต่การภาวนาว่า เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ตโจ ทันตา ทขา โลมา เกสา ไม่ได้พิจารณาว่า ผม ฯลฯ ไม่งาม ฯลฯ ก็เป็นสมถกัมมัฏฐาน ถ้าพิ – จารณาผม ฯลฯ แยกให้เห็นเป็น สามัญ – ลักษณะ ก็เป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน.
  28. ตลสตฺติกสิกฺขาปท : (นปุ.) สิกขาบทอัน บัณฑิตกำหนดแล้วด้วยอันเงือดเงื้อซึ่ง หอกคือฝ่ามือ.
  29. เตปิฏกพุทธวจนสงฺขาต : (วิ.) อันบัณฑิต นับพร้อมแล้วว่าพระดำรัสของพระพุทธเจ้า คือหมวดแห่งปีฏกสาม.
  30. เตภูมิกวฏฺฏสขาต : (วิ.) อันบัณฑิตนับพร้อม แล้วว่า วัฏฏะอันเป็นไปในภูมิสาม.
  31. เถยฺยสงฺขาต : อ. โดยอาการอันบัณฑิตกล่าวแล้วว่า การขโมย, โดยอาการขโมย
  32. ทุคฺคติ : (อิต.) คติชั่ว วิ. ทุฎฺฐุ คติ ทุคฺคติ. ลบ ฎฺฐุ ซ้อน คฺ. คติอันบัณฑิตติเตียน วิ. กุจฺฉิตา คติ ทุคฺคติ. ลบ จฺฉิต แปลง กุ เป็น ทุ, การไปชั่ว, ความเป็นไปชั่ว, ภูมิเป็นที่ไป ชั่ว. ทุ+คติ ซ้อน คฺ. ที่เป็นที่ไปแห่งทุกข์, ที่เป็นที่ถึงซึ่งทุกข์. วิ. ทุกขสส คติ ทุคคติ. ลบ กขฺ ซ้อน ค. ภูมิเป็นที่ตั้งแห่งทุกข์ วิ. ทุกฺขสฺส คติ ปติฏฺฐา ทุคฺคติ, ทุคคติ (ภพชั่ว). ส. ทุรฺคติ.
  33. นิชฺฌาน : (นปุ.) การดู, การแลดู, การเห็น, การแพ่ง, การพินิจ, การพิจาร, ปัญญา อุ. นิชฺฌานพลา ปณฺฑิตา บัณฑิตท. มี ปัญญาเป็นกำลัง. นิปุพฺโพ, เฌ ฌาน- ญาเณสุ, ยุ. แปลง เอ เป็น อา.
  34. นิติปณฺฑิต : (ปุ.) คนมีความรู้ในกฎหมาย, นักปราชญ์ทางกฎหมาย, เนติบัณฑิต ใช้ เรียกผู้ที่สอบได้ปริญญาทางกฎหมาย.
  35. นิรุตฺติสภา : (อิต.) สภาแห่งบัณฑิตผู้แตกฉาน ในภาษา, สภาแห่งบัณฑิตผู้มีหน้าที่ เกี่ยวกับภาษา.
  36. ปณฺฑิจฺจ : นป. ความเป็นบัณฑิต, ความเฉลียวฉลาด, ความเฉียบแหลม
  37. ปณฺฑิตก : ป. คนที่เข้าใจว่าตนเป็นบัณฑิต, คนเห่อความรู้, คนอวดฉลาด
  38. เปยฺยาล : (ปุ.) เนื้อความเพื่อความเป็นของอันบัณฑิตพึงรักษาไว้, เนื้อความควรเพื่ออันให้พิสดาร, เนื้อ ความควรเพื่ออันรักษาไว้, เปยยาล, ไปยาล. ในไวยากรณ์ใช้เป็นเครื่องหมายละคำ รูป“ฯ” นี้ เรียกว่า ไปยาลน้อย รูป “ฯลฯ” หรือ “ฯเปฯ” เรียกว่า ไปยาลใหญ่.
  39. พาล : (วิ.) ผู้ตัดประโยชน์ทั้งสองอันบัณฑิตนับพร้อมแล้วว่าประโยชน์ของตนและประโยชน์ของบุคคลอื่น, เขลา, โง่, เซอะ, พาล. วิ. เทฺว อตฺตตฺถปรตฺถสํขาเต อตฺเถลุนาตีติ พาโล. ทฺวิ+ลา ธาตุ ในความตัด อ ปัจ. แปลง ทฺวิ เป็น พา. อ่อน, ไร้เดียงสา, เล็ก. พลฺ ปาณเน, โณ แปลว่า ชั่ว, ร้าย, ดุ, ดุร้าย อีกด้วย.
  40. มารเธยฺย : (นปุ.) ที่เป็นที่ตั้งแห่งมาร, ที่อันมารพึงทรงไว้, ที่อันบัณฑิตนับพร้อมแล้วว่ากิเลสวัฏเป็นที่ทรงแห่งมาร, วัฏฏะเป็นที่ตั้งแห่งมาร, บ่วงแห่งมาร.
  41. ยมกวคฺควณฺณนา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องพรรณนาซึ่งเนื้อความแห่งวรรคอันบัณฑิตกำหนดนับด้วยเรื่องอันแสดงของที่เป็นคู่ๆ กัน.
  42. สาวชฺช : (วิ.) อันเป็นไปกับด้วยโทษอันบัณฑิตพึงเว้น, อันเป็นไปกับด้วยโทษ, มีโทษ. สห+วชฺช แปลง สห เป็น สา.
  43. อชฺฌตฺตนิลกสิณาทิรูปชฺฌานวส : (ปุ.) อำนาจแห่งการเพ่งซึ่งรูปมีกสิณอันบัณฑิตกำหนดแล้วด้วยสีเขียวอันเป็นไปทับซึ่งตนเป็นต้น.
  44. อธินิติเวทีอธินีติเวที : (ปุ.) เนติบัณฑิต.
  45. อธินิติเวที อธินีติเวที : (ปุ.) เนติบัณฑิต.
  46. อปณฺฑิต : (วิ.) มิใช่บัณฑิต, พาล.
  47. อวชฺช : (วิ.) ไม่มีโทษอันบัณฑิตพึงเว้น, ไม่มีโทษ.
  48. อาทิกลฺยาณ : (วิ.) มีคุณอันบัณฑิตพึงนับในเบื้องต้น, มีความไพเราะอันบัณฑิตพึงนับในเบื้องต้น, มีความไพเราะในเบื้องต้น, งามในเบื้องต้น.
  49. อุตฺตริมนุสฺสธมฺมสิกฺขาปท : (นปุ.) สิกขาบท อันบัณฑิตกำหนดแล้ว ด้วยธรรมของ มนุษย์ผู้ยิ่ง, ฯลฯ.
  50. [1-49]

(0.0442 sec)