ปฏิกฺโกสติ : ก. ด่าตอบ, ติเตียน, แช่งด่า, ดูหมิ่น; คัดค้าน, ปฏิเสธ, ห้าม
ปริภวติ : ก. สบประมาท, ดูหมิ่น, ฉิบหาย, ลำบาก
ปริภาส : ป. การบริภาษ, การว่าร้าย, การติเตียน, ดูหมิ่น
อติมญฺญติ : ก. หมิ่นประมาท, ดูหมิ่น, ดูถูก
อนาทร : (วิ.) ไม่เอื้อเฟื้อ, ไม่เอาใจใส่, ไม่พะวงไม่นำพา, เฉยเมย, เกียจคร้าน, คร้าน, เบียดเบียน, รบกวน, ดูถูก, ดูหมิ่น, ดูแคลนไม่เห็นแก่กัน, อนาทร (อะนาทอน) ไทยใช้ในความหมายว่าเป็นทุกข์เป็นร้อนร้อนอกร้อนใจ.น+อาทร.
อวกโรติ : ก. ทำให้เสื่อม, ดูหมิ่น, สลัดทิ้ง
อาสาเทติ : ก. ทำให้ขัดเคือง, ดูหมิ่น
โอจินายติ : ก. ดูถูก, ดูหมิ่น
อว : (อัพ. อุปสรรค)ปราศ (พ้นไป), รู้ (อวคต), ต่ำ, ลง(อวสิร), ใต้, แท้, แน่แท้ (อาธารณ), หมดจด (โวทาน), น้อย, ดูหมิ่น (อวชานน), ที่(โอกาส), ที่ว่าง, ติเตียน, แพร่หลาย, ซึมแทรก, แผ่ซ่าน, เสื่อม, กล่าว, ลัก(อวหาร), ลุ (ถึงสำเร็จ), แผนก, ส่วน.
วิมานเนติ : ก. ดูหมิ่น
อปฺปมญฺญติ : ก. ๑. คิดพอประมาณ;
๒. ดูหมิ่น, ดูแคลน
อวการรี : ค. ดูหมิ่น, ละเลย, เพิกเฉย
อวคณิต : (วิ.) ดูหมิ่น, ดูถูก, ดูแคลน.วิ. เหฏฺฐากตฺวาคณียตีติอวคณิโต.อวปุพฺโพ, คณฺ สํขฺยาเณ, โต, อิอาคโม.
อวญฺญิต : (วิ.) ดูหมิ่น, ฯลฯ.วิ.เหฏฺฐา กตฺวาญายตีติอวญฺญิต.
อวมญฺญติ : ก. ดูหมิ่น, ดูถูก, สบประมาท
อวมานิต : (วิ.) ดูหมิ่น, ฯลฯ. วิ. เหฏฺฐากตฺวามญฺญตีติอวมานิโต.