สตฺต : (นปุ.) สาย, สายบรรทัด, ใย, ด้าย, เส้น, เส้นด้าย. สจฺ คติยํ, โต. แปลง จฺ เป็น ตฺ
อสุ : (ปุ. อิต.) สาย, ด้าย, ขน, ทาง, เส้น, แถว, ข้อ, ข้อเล็กน้อย, ปลายเส้นด้าย, รัศมี, แสง, แสงสว่าง.อมฺคมเน, อุ, สฺอาคโม. ลบ มฺ นิคคหิตอาคม หรือแปลงมฺ เป็น นิคคหิต.
กปฺปาสิก : (ไตรลิงค์) ผ้าอันบุคคลทอด้วยฝ้าย, ผ้าฝ้าย, ผ้าด้าย. กปฺปาสผลวิการตฺตา กปฺปาสิกํ. ณิก ปัจ.
กมฺพลสุตฺต : นป. ด้ายขนสัตว์
กาสิก : (นปุ.) กาสิกะ ชื่อแว่นแคว้น, ผ้าทอ ด้วยด้ายแกมไหม, กราสิกะ.
จลย : (ปุ.) ด้าย, ทองปลายแขน, กำไลมือ, เส้นทอง.
ตนฺตากุลกชาต : ค. ซึ่งผูกพันกันยุ่งเหมือนกลุ่มด้าย
ตนฺตุ : (ปุ.) ด้าย, เส้นด้าย. อภิฯ วิ. ตญฺญเตติ ตนฺตุ. รูปฯ ๖๖๕ วิ. ตโนตีติ ตนฺตุ. ตนุ วิตฺถาเร, ตุ.
ทสิกสุตฺต : นป. เส้นด้ายที่เหลือพันชายผ้า, ด้ายขอบผ้า
ปณฺฑุสุตฺต : นป. เส้นด้ายสีเหลือง, ด้ายเหลือง
พนฺธนสุตฺตก : (วิ.) อันเป็นด้ายถัก.
ยญฺญสุตฺตก : นป. ด้ายสำหรับบูชายัญ
หาร : (ปุ.) แก้วมุกดาที่ร้อยด้วยด้าย, สร้อยไข่มุก, สร้อยคอ, สายสร้อย. วิ. หรียเต มโน เยน โส หาโร. หรฺ หรเณ, โณ.
กปฺปิยโวหาร : (ปุ.) ถ้อยคำอันควร, ถ้อยคำ อันสมควร, กัปปิยโวหาร คือถ้อยคำที่ควรใช้พูด ถ้อยคำที่ภิกษุใช้พูดให้เหมาะ สมแก่ภาวะไม่ผิดพระวินัย ในเมื่อต้องการให้ผู้อื่น (มิใช่บรรพชิต) ทำสิ่งหนึ่งสิ่งใด เช่นพูดว่า หญ้าข้างกุฏิรกเด็กหรือคนวัด ถอนหรือดายหญ้าให้ ภิกษุไม่ต้องอาบัติใน เพราะพรากของเขียว ดังนี้เป็นต้น.
โอคณ : ค. อันแยกจากหมู่, ผู้อยู่เดียวดาย