Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตกใจกลัว, ตกใจ, กลัว , then กลว, กลัว, ตกใจ, ตกใจกลัว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตกใจกลัว, 110 found, display 1-50
  1. ฉมฺภติ : ก. สะดุ้ง, ตกใจกลัว
  2. อุตฺราสิ อุตฺตราสี : (วิ.) หวาด, หวาดเสียว, สะดุ้ง, ตกใจ, กลัว.
  3. อุสฺสงฺกี : (วิ.) หวาด, หวาดเสียว, สะดุ้ง, กลัว, ตกใจ. อุปุพฺโพ, สกิ สงฺกายํ, อี.
  4. ตาสน : นป. การทำให้ตกใจกลัว, การเสียบประจาน
  5. อสมฺภีต : ค. ไม่กลัวแล้ว, ไม่ตกใจแล้ว
  6. อุตฺรสติ อุตฺตรสติ อุตฺตรสฺติ : (อิต.) ความหวาด, ความหวาดเสียว, ความสะดุ้ง, ความตกใจ, ความกลัว. อุปุพฺโพ, ตฺรสฺ อุพฺเพเค, ติ.
  7. อุพฺพิคฺค : กิต. กลัวแล้ว, ตกใจแล้ว, หวาดเสียวแล้ว
  8. อุพฺเพชตุ, - เชตุ : ป. ผู้ตกใจกลัว, ผู้สะดุ้ง
  9. อุพฺเพเชติ : ก. ให้ตกใจกลัว, ให้สะดุ้ง
  10. ตส : (วิ.) หวาด, สะดุ้ง, ตกใจ, คลอนแคลน, กลับกลอก, เคลื่อนที่, เคลื่อนที่ได้, ไป. ตสฺ อุพฺเพคจลเนสุ, อ.
  11. พฺยถน : (วิ.) เป็นทุกข์, ลำบาก, รบกวน, สะดุ้ง, กลัว, ไหว, สั่น, รัว, สั่นรัว.
  12. ภย : (วิ.) สะดุ้ง, กลัว, หวาด, เป็นที่กลัว.
  13. ภิสีล : (วิ.) ขลาด, กลัว, ขี้ขลาด. วิ. ภี ภยํ สีโล ยสฺสโส ภิสีโล. เป็น ภีสีล โดยไม่รัสสะบ้าง.
  14. อุพฺพิคฺค อุพฺเพค : (วิ.) หวาด, หวาดหวั่น, หวาดเสียว, ตกใจ, สะดุ้ง. อุปุพฺโพ, วิชี ภยจลเนสุ, อ. แปลง ว เป็น พ ช เป็น ค ศัพท์ต้นแปลง ค เป็น คฺค ศัพท์หลังวิการ อิ เป็น เอ ซ้อน พฺ.
  15. อุพฺพิชฺชติ : ก. ยุ่งยาก, เดือดร้อน, ตกใจ, หวาดเสียว
  16. ภายติ : ก. กลัว
  17. โอตปฺป โอตฺตปฺป : (นปุ.) ความสะดุ้ง, ความเกรงความผิด (เกรง คือ กลัว), ความกลัว, ความเกรงกลัว, ความสะดุ้งกลัวต่อบาป, ความเกรงกลัวต่อบาป, ความกลัวต่อบาป, ความสะดุ้งกลัวต่อผลของความชั่ว, ความเกรงกลัวต่อผลของความชั่ว, ความกลัว บาป. วิ. โอตฺตปฺปติ ปาปโตติ โอตปฺปํ โอตฺตปฺปํ วา. อวปุพฺโพ, ตปฺ อุพฺเพเค, อ. แปลง ป เป็น ปฺป ศัพท์หลังซ้อน ตฺ.
  18. กฏุก : ๑. นป., ป. ความเผ็ดร้อน, รสเปรี้ยว, รสขม, การบูน ๒. ค. แหลมคม, เข้มงวด, น่ากลัว, ขมขื่น, ร้ายแรง
  19. กากภีรุ : ป. นกที่กลัวต่อกา, นกฮูก, นกเค้าแมว
  20. ฆุรติ : ก. กลัว, น่ากลัว; ออกเสียง, ร้อง, กล่าว
  21. โฆร : (วิ.) น่ากลัว, น่าสะพรึงกลัว, พิลึก, ไปเร็ว, ร้าย, ร้ายกาจ, ร้ายแรง, กึกก้อง, กล้า ( มาก แข็ง ), ร้อง, กล่าว. ฆรฺ ภิมตฺตสทฺเทสุ, โณ.
  22. โฆรตร : ค. ร้ายมาก, น่ากลัวมาก
  23. จกิต : ค. ผู้ถูกรบกวน, ผู้สะดุ้ง, ผู้กลัว
  24. จิตฺตุตฺราส : ป. ความสะดุ้งแห่งจิต, ความหวาดกลัว
  25. ชราภย : นป. ความกลัวแต่ความชราหรือความเสื่อมโทรม
  26. ชาติภย : นป. ความกลัวต่อการเกิด, ความกลัวการเกิด
  27. ตชฺเชติ : ก. คุกคาม, ข่มขู่, ด่าว่า, ทำให้กลัว
  28. ตาปน : (นปุ.) การทรมาน, ความทรมาน, ความร้อน, ฯลฯ. ตปฺ สนฺปาเต, ยุ. การทำให้ตกใจ,ความสะดุ้ง,ฯลฯ.ตปฺ อุพฺเพเค. การทำให้พอใจ. ความอิ่มใจ. ตปุ ปีณเน. ส. ตาปน.
  29. ตาสนิย : ค. น่ากลัว, น่าหวาดเสียว, น่าสะดุ้ง
  30. ตาเสติ : ก. ให้สะดุ้ง, ให้ตกใจแล้ว
  31. ทณฺฑภย : นป. ภัยคืออาชญา, ความกลัวแต่การลงโทษ, การกลัวถูกลงโทษ
  32. ทร ทรถ : (ปุ.) ความกลัว, ความเจ็บป่วย, ความกระวนกระวาย, ความเร่าร้อน, ทรฺ ภยทาเหสุ, อ, โถ. ทรสทฺโท จ ทรถสทฺโท จ กายทรเถ จิตฺตทรเถ กิเลสทรเถ จ วตฺตนฺติ. อภิฯ.
  33. ทร, ทรถ : ป. ความเร่าร้อน, ความกระวนกระวาย, ความกังวลใจ, ความหวั่นกลัว, ความลำบาก, ความทุกข์
  34. ทารุณ : (วิ.) หยาบ, หยาบช้า, ร้าย, ดุร้าย, โหดร้าย, น่าสะพรึงกลัว. วิ ทาเรติ วิทาเรตีติ ทารุโณ. ทรฺ วิทารเน, อุโณ, กุโน วา. ถ้าลง กุน ปัจ. สบ กฺ แปลง น เป็น ณ. ส. ทารุณ.
  35. นาฎฺยรส : (ปุ.) นาฏยรส. นาฏยรสมี ๙ คือ ๑. สิงฺคาโร ความรัก ๒.กรุโณ ความเอ็นดู ๓. วิโร ความกล้าหาญ ๔. อพฺภูโต ความอัศจรรย์ ๕. หสฺโส ความร่าเริง ๖. ภยานโก ความกลัว ๗. สนฺโต ความละเอียด ความสงบ ๘. วิภจฺฉํ เห็นแจ้ง และ ๙. รุทฺทํ ความโกรธ.
  36. นาฏยรส : ป. รสแห่งนาฏยะมี ๙ อย่างคือ (๑) สิงฺคาร ความรัก (๒) กรุณา ความเอ็นดู (๓) วีร ความพากเพียรอาจหาญ (๔) อพฺภูต ความอัศจรรย์ (๕) หสฺส ความร่าเริง (๖) ภย ความกลัว (๗) สนฺต ความสงบ (๘) สิภจฺฉ ความเห็นแจ้ง (๙) รุทฺธ ความโกรธ
  37. นิทฺทร : ค. ไม่มีความกระวนกระวาย, ไม่เดือดร้อน, ไม่มีความทุกข์, ปราศจากความกลัว
  38. นิทฺทร นิทฺทรถ : (วิ.) มีความเร่าร้อยออกแล้ว, ไม่มีความเร้าร้อย, หมดความเร่าร้อน, มี ความกระวนกระวายออกแล้ว, ฯลฯ, หมด ความเจ็บไข้, หมดความป่วยไข้, หมด ความกลัว.
  39. นิพฺพิสงฺก : ค. ซึ่งหมดความระแวง, ไม่มีความสงสัย, ปราศจากความแคลงใจ; ซึ่งกล้าหาญ, ไม่กลัวเกรง
  40. นิพฺภย : ค. ซึ่งไม่มีภัย, อันไม่มีความกลัว; กล้าหาญ
  41. นิรยภย : นป. ภัยแต่นรก, ความกลัวแต่นรก
  42. ปฏิภย : นป. ภัยเฉพาะหน้า, สิ่งที่น่ากลัว, อันตราย
  43. ปรกฺกม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องก้าวไปยังคุณใน เบื้องหน้า, การก้าวไปสู่คุณในเบื้องหน้า, การก้าวไปข้างหน้า, ความก้าวไปข้างหน้า, ความเป็นคนกล้า, ( ไม่กลัวหนาว ฯลฯ ) , ความเพียร, ความบากบั่น, ความตะเกียกตะกาย ( พยายามทุกทางเพื่อให้ ประสบความสำเร็จ ) . วิ. ปรํ ปรํ ฐนํ อกฺกมตีติ ปรฺกกโม. ปรํ ปจฺจนึกภูตํ โกสฺชฺชํ อกฺกมตีติ วา ปรฺกกโม. ปรปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ. ซ้อน กฺ.
  44. ปวฺยธิต : ค. หวั่นไหว, สั่นสะเทือน, สะดุ้งกลัว
  45. ปาปภีรุตา : อิต. ความสะดุ้งกลัวต่อบาป
  46. พกฺกุล : ป., นป. ปีศาจ, การเปล่งเสียงร้องอย่างน่ากลัว
  47. พีภจฺฉ : (วิ.) น่าเกลียด, น่ากลัว, เป็นแดนกลัว, อันพึงกลัว.
  48. พีภจฺฉทสฺสน : นป. การเห็นแจ้ง, การเห็นเป็นสิ่งน่าสยดสยองหรือน่ากลัว
  49. ภยงฺกร : (วิ.) ทำซึ่งภัย, กระทำซึ่งภัย, น่ากลัว, น่าสพึงกลัว. ทุ. ตัป. อลุตตสมาส.
  50. ภยงฺกร ภยานก : (นปุ.) สิ่งอันน่าสพึงกลัว. ความขลาด, ฯลฯ.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-110

(0.0698 sec)