Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตนา , then ตน, ตนะ, ตนา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตนา, 369 found, display 1-50
  1. จินฺตนาการ : (ปุ.) คลองแห่งความคิด, อาการ คือความคิด, การสร้างภาพขึ้นในใจ วิ. จินฺตนายํ ภาวํ อุกาโร ( การทำขึ้น การ สร้างขึ้น ) จินฺตนากาโร.
  2. กมฺมนตนายก : (ปุ.) หัวหน้างาน.
  3. กิตฺตนา : (อิต.) การกำหนด, การสนทนา, การทัก อุ. นิมิตฺตกิตฺตนํ การทักนิมิต.
  4. ยาวชตฺตนา : (อัพ. นิบาต) เพียงไรแต่กาลมีในวันนี้.
  5. สมฺมาวตฺตนา : (อิต.) การเป็นไปโดยชอบ, ความเป็นไปโดยชอบ, การประพฤติชอบ, ความประพฤติชอบ.
  6. นิย นิยก : (วิ.) เป็นของตน วิ. เนตพฺโพ นิโย. นิ นเย, โณฺย. ฎีกาอภิฯ ผู้เกิดในตน, ผู้เกิดแต่ตน, ผู้อาศัยตนเกิด. วิ. อตฺตนิ ชาโต นิโย. อตฺตนา ชาโต นิโย. อตฺตานํ นิสฺสาย ชายตีติ นิโย. แปลง ชนฺ เป็น ชา รัสสะ แปลง ช เป็น ย ศัพท์หลัง ก สกัด นิ มาจาก นิสฺสาย.
  7. อตฺตนิย : (วิ.) เกิดแล้วในตน, เกิดแล้วแต่ตน, เกิดในตน, เกิดแต่ตน, เนื่องด้วยตน, นี้ของตน, วิ. อตฺตนิ ชาโต อตฺตนิโย. อตฺตนา ชาโตอตฺตนิโย, อตฺตโน อิทนฺติ ยตฺตนิยํ. อิย ปัจ.ชาตาทิตัท.นฺอาคม.โมคฯขาทิกัณฑ์ลง นิย ปัจ.
  8. จินฺต จินฺตน : (นปุ.) จินฺตนา
  9. จินฺตน : นป. จินฺตนา อิต. การคิด, การดำริ, ความนึกคิด, ความดำริ
  10. จินฺตา : (อิต.) ความนึก, ฯลฯ. วิ. จินฺตนํ จินฺตา. ปัญญาเป็นเครื่องคิด วิ. จินฺตนา จินฺตา. จินดา ไทยใช้ในความหมายว่า แก้วมีค่า.
  11. เจตนา : (อิต.) ธรรมชาติผู้คิด, ความคิด, ความคิดอ่าน, ความนึก, ความตริ, ความดำริ, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ. วิ. จินฺตนา เจตนา. เจตยตีติ วา เจตนา. จิตฺ สํเจตเน, ยุ. ไทยใช้ เจตนาเป็นกิริยา ในความหมาย ว่า จงใจ ตั้งใจ มุ่งหมาย ส. เจตนา.
  12. นจฺจ : (นปุ.) การฟ้อน, การรำ, การฟ้อนรำ, การเต้น, การเต้นรำ, การรำแพน (ใช้ กับนกยูง). อีกอย่างหนึ่ง คำ การรำแพน เป็นชื่อของการเล่นไต่ลวดมในงานหลวง มือถือหางนกยูงสองมือ. วิ. นตนํ นจฺจํ, นตฺ คตฺตนาเม, โย. แปลง ตฺย เป็น จ แล้วแปลง จ เป็น จฺจ รูปฯ ๖๔๔. หรือแปลง ตฺย เป็น จฺจ ก็ได้ หรือ วิ. นฎนํ นจฺจํ. นฏฺ นตฺยํ, โย แปลง ฏฺ เป็น ตฺ รวมเป็น ตฺย แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  13. นวมลฺลิกา : (อิต.) มะลิซ้อน, ชบาต้น. วิ. นวา นูตนา มลฺสิกา นวมลฺสิกา. เป็น นวมาลิกา บ้าง. ส. นวมลฺลิกา.
  14. สมฺมาสมฺพุทธฺ : (ปุ.) พระสัมมาสัมพุทธะ พระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง, พระสัมมาสัมพุทธเจ้า. วิ. สมฺมา อวิปริเตน สํ อตฺตนา สมฺพธมฺเม อพุชฺฌีติ สมฺมาสมฺพุทฺโธ. สมฺมา ฯเปฯ พุชฺฌตีติ วา สมฺมาสมฺพุทฺโธ. สมฺมาสํปุพฺโพ, พุธฺ, โพธเน, โต. สมฺมาสมฺโพธิโยคา วา สมฺมาสมฺพุทฺโธ. สมฺมา สามํ พุทฺธตฺตา วา สมฺมาสมฺพุทฺโธ.
  15. เสรี : (ปุ.) บุคคลผู้มีอิสระ (ทำหรือพูดได้โดยไม่ละเมิดสิทธิ์ของผู้อื่น). วิ. อตฺตนา อีริตํ สีล มสฺสาติ เสรี.
  16. อติเวลา : (อิต.) เวลาอันเป็นไปล่วงซึ่งเวลา, เวลายิ่ง, เวลาเกิน.วิ.เวลํอติกฺกมิตฺวาปวตฺตนาเวลาอติเวลา.
  17. ตนุ : (อิต.) กาย, ร่างกาย, ตน, หนัง. วิ.ตโนติ สํสารทุกฺขนฺติ ตนุ. ตนุ วิตถาเร, อุ. รูปฯ ๖๓๕ ลง ณุ ปัจ. ไม่ทีฆะ. ไทยใช้ ดนุ เป็นสัพพนามแทนผู้พูด. ฉันข้าพเจ้าฯลฯ.
  18. ตนยา : (อิต.) ลูกหญิง, ลูกสาว.
  19. จิรนฺตน : (วิ.) ชั่วก่อน (ระยะก่อน), ชั่วเพรง (เพรง คือ ก่อนเก่า), ก่อน, มีในก่อน. วิ. จิรํ ภโว จิรนฺตโน. จิรํ+ตน ปัจ. แปลง นิคคหิตเป็น น. ฎีกาอภิฯ ว่า ลบนิคคหิต ถ้าถือตามมติฎีกาฯ ก็ต้องลง นฺ สังโยค หรือ นฺ อาคมหน้าปัจ.
  20. ปุราตน : (วิ.) เก่า, ก่อน, ฯลฯ. วิ. ปุรา ภโว ปุราตโน. ตน ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๒๒. ดู ปุราณ(วิ.)
  21. สฺวาตน : (อัพ. นิบาต) มีในวันพรุ่ง วิ. เ สฺว ภวํ สฺวาตนํ. เ สฺว+ตน ปัจ. แปลง เอ เป็น อา รูปฯ ๔๐๗.
  22. หิยฺยตฺตน : (วิ.) เป็นในวันวาย, มีในวันวาน. วิ. หิยฺโย ภโว หิยฺยตฺตโน. ที่เป็นวิเสสนะ ของ อิต. เป็น หิยฺยตฺตนี. หิยฺย+ตน ปัจ.
  23. เกตน : (นปุ.) การกำหนด, การหมาย, ธง, บ้าน, เรือน, ที่อาศัย. กิตฺ ญาณนิวาเสสุ,ยุ.ส.เกตน.
  24. เขตต : (นปุ.) ภริยา, สรีระ, ตน, แดน, แคว้น, นา, ไร่, ไร่นา, ที่, ที่ดิน, ทุ่ง, ทุ่งนา, เขต. วิ. พีชานิ ขิปิยนฺตีติ เขตฺตํ. พีชานิ ขิปนฺตฺ- ยสฺมินฺติ วา เขตฺตํ. ขิปฺ เปรเณ, โต, ปการสฺส ตตฺตํ. ขิตฺตํ พิชํ มหปฺผลภาวกร- เณน ตายตีติ วา เขตฺตํ. ขิตฺตปุพฺโพ, ตา ปาลเน, โต, อิสฺเส, ตการทฺวยโลโป (ลบ ตฺต แห่ง ขิตฺต) ที่แปล เขตฺต ว่า ภริยานั้น เพราะเป็นที่งอกงามของพืช คือ บุตร. ส. กฺษตร.
  25. ฆานายตน : นป. ฆานายตนะ, ฆานประสาท, สื่อกลางที่จมูกรับรู้กลิ่น
  26. ธมฺมจกฺกปฺปวตฺตนสุตฺต : (นปุ.) ธรรมจัก- กัปปวัตตนสูตร ชื่อพระสูตรซึ่งพระพุทธ- เจ้าทรงแสดงครั้งแรกแก่พระเบญจวรรคีย์ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ปฐมเทศนา.
  27. ธมฺมายตน : (นปุ.) ที่เป็นที่ต่อแห่งอารมณ์, ที่เป็นที่ต่อแห่งอารมณ์ที่เกิดกับใจ, แดนแห่งธรรมารมณ์, แดนคือธรรมารมณ์, อายตนะคืออารมณ์ที่เกิดกับใจ, ธรรมา-ยตนะ คือเรื่องที่ใจรู้ อารมณ์ที่ใจรู้.
  28. นฏน นฏฺฏ นตฺตน : (นปุ.) การฟ้อน, การรำ, การฟ้อนรำ, การเต้น, การเต้นรำ. ศัพท์ที่ ๑, ๒ นฎ นตฺยํ. ศะพท์ตัน ยุ ปัจ. ศัพท์ที่ ๒ อ ปัจ. และแปลง ฏ เป็น ฏฺฏ ศัพท์ที่ ๓ นตฺ คตฺตวิมาเน. ลง ย ปัจ. ประจำธาตุ และ ยุ ปัจ. นามกิตก์ แปลง ตฺย เป็น จฺจ ยุ เป็น อน. ส. นรฺตน, นฤดี.
  29. นิวตฺตน : (นปุ.) การหลับ, การหันกลับ, การหมุนกลับ. นิปุพฺโพ, วตฺต วตฺตเน, ยุ. ส. นิวรฺตฺตน.
  30. ผสฺสายตน : นป. ผัสสายตนะ, อายตนะ คือ ผัสสะ
  31. ราชายตน : ป. ไม้ราชายตนะ, ไม้เกด
  32. สรีร : (นปุ.) ร่าง (ตัว), กาย, ร่างกาย, ตัว, ตน, ตัวตน, สรีระ, วิ. สรตีติ สรีรํ. สรฺ คติยํ, อีโร. สรนฺติ วาตํ หึสนฺตีติ วา สรีรํ. สรฺ หึสายํ. อภิฯและฎีกาฯ ลงอีรปัจ. รูปฯ ลง อิร ปัจ. ทีฆะ.
  33. อตฺต อตฺร : (ปุ.) กาย, ร่างกาย, ตน, ตู(ตัว), ตัว, ตัวเอง, ตัวตน (ร่างกายและใจ). วิ. ทุกฺขํ อตติสตตํ คจฺฉตีติ อตฺตา (ถึงทุกข์เสมอ).อาหิโตอหํมาโน เอตฺถาติวา อตฺตา (เป็นที่ตั้งของมานะ).สุขทุกฺขํ อทติ ภกฺขติ อนุภาวตีติวาอตฺตา(เสวยสุขทุกข์).ชาติชรามรณาทีหิอาทียเต ภกฺขียเตติวา อตฺตา (อันชาติชราและมรณะเป็นต้น เคี้ยวกิน).ภววภวํธาวนฺโตชาติชรามรณาทิเภทํ อเนกวิหิตํสํสารทุกขํอตติสตตํคจฺฉติปาปุณาติอธิคจฺฉตีติวาอตฺตา.อตฺหรืออทฺธาตุตปัจ.ถ้าตั้งอทฺ ธาตุ แปลงทเป็น ต หรือ แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ทฺศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ตฺรลบที่สุดธาตุอตฺตศัพท์นี้ตามหลักบาลีไวยากรณ์เป็นเอก.อย่างเดียว ถ้าจะใช้เป็นพหุ. ต้องแปลซั้าสองหน หรือเขียนควบสองหนเช่น อตฺตโนอตฺตโนแต่คัมภีร์รูปสิทธิเป็นต้น แจกเป็นพหุ. ได้.แปลว่า จิตใจ สภาวะ และ กุสลธัมได้อีกอุ. อตฺตา หิกิรทุทฺทโมได้ยินว่าจิตแล(ใจแล) เป็นสภาพรักษาได้ยาก.แปลว่า หัวใจ อุ.ตถตฺตมีหัวใจเป็นอย่างนั้นมีพระทัยเป็นอย่างนั้น. แปลว่าปรมัตตะ หรือปรมาตมันตามที่ชาวอินเดียโบราณถือว่าเป็นสิ่งไม่ตาย รูปฯ๖๓๖ ลง มนฺ ปัจ. ลบ น.แปลง ม เป็น ต สูตรที่ ๖๕๖ ลง ต ตฺรณฺ ปัจ.ที่ลง ตฺรณฺปัจ.ลบที่สุดธาตุ แล้วลบณฺสฺอาตฺมนฺอาตฺมา.
  34. อนิวตฺตอนิวตฺตน : (วิ.) ไม่กลับ, ไม่หมุนกลับ, ไม่ท้อถอย.ส.อนิวรฺตอนิวรฺตน.
  35. อนิวตฺต อนิวตฺตน : (วิ.) ไม่กลับ, ไม่หมุนกลับ, ไม่ท้อถอย. ส.อนิวรฺต อนิวรฺตน.
  36. อนุวตฺตอนุวตฺตน : (นปุ.) ความคล้อยตาม, ความผ่อนตาม, ความเป็นไปตาม, ความเป็นไปสมควร, ความสมควร.ส.อนุวรฺตน.
  37. อนุวตฺต อนุวตฺตน : (นปุ.) ความคล้อยตาม, ความผ่อนตาม, ความเป็นไปตาม, ความเป็นไปสมควร, ความสมควร. ส.อนุวรฺตน.
  38. อากาสานญฺจายตน : (นปุ.) อากาสานัญจายตนะชื่อของอรูปฌานที่๑วิ. อากาสานญฺจํอายตนํอากาสานญฺจายตนํ.อากาสานญฺจํอายตนํอสฺสาติวาอากาสานญฺจายตนํ.
  39. อากาสานญฺจายตนภูมิ : (อิต.) อากาสานัญจาย-ตนภูมิชื่อภูมิของอรูปพรหมที่๑.
  40. อากิญฺจญฺญายตน : นป. อากิญจัญญายตนะ, ฌานที่มีการคำนึงว่าไม่มีอะไรเป็นอารมณ์, สภาวะแห่งความไม่มีอะไร
  41. อากิญฺจญฺญายตนภูมิ : (อิต.) อากิญจัญญยตนภูมิชื่อภูมิของอรูปพรหมชั้นที่ ๓
  42. กนฺตน : (นปุ.) การตัด, การฆ่า, การแควะ, การควัก, การเชือด. กติ เฉทเน, ยุ.
  43. กปิตน : ป. มะสัง, ต้นหมาก
  44. กปิตน กปีตน : (ปุ.) มะสัง ชื่อต้นไม้ ต้นมี หนาม ใบคล้ายใบมะขวิด.
  45. กมฺมายตน : (นปุ.) หน้าที่การงาน.
  46. กายายตน : นป. สิ่งที่เป็นสื่อรับความรู้สึกจากภายนอกมาสู่กาย, สื่อทางกาย
  47. กิตฺตน : (นปุ.) การกำหนด, การสนทนา, การทัก อุ. นิมิตฺตกิตฺตนํ การทักนิมิต.
  48. คนฺธายตน : ป. อายตนะคือกลิ่น
  49. คพฺภปาตน : นป. การตกไปแห่งครรภ์, การแท้งลูก
  50. คุณกิตฺตน : นป. การพรรณนาคุณความดี
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-369

(0.0258 sec)