ตนุ : (อิต.) กาย, ร่างกาย, ตน, หนัง. วิ.ตโนติ สํสารทุกฺขนฺติ ตนุ. ตนุ วิตถาเร, อุ. รูปฯ ๖๓๕ ลง ณุ ปัจ. ไม่ทีฆะ. ไทยใช้ ดนุ เป็นสัพพนามแทนผู้พูด. ฉันข้าพเจ้าฯลฯ.
ตนุ ตนุก : (วิ.) ละมุนละม่อม, ละเอียด, ห่าง, น้อย, เล็ก, ผอม, เบา, บาง, บางเบา. ตนุ ตนุกรเณ, อุ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
ตนุช : (ปุ.) ชนผู้เกิดแต่ตน. ลูก, ลูกชาย. วิ. ตนุมฺหา ชาโต ตนุโช. ตนุ+ชนฺ+กฺวิ ปัจ.
ตนุกต : (วิ.) ถาก, ทำให้บาง, วิ. ตนุ กรียเตติ ตนุกโต.
ตนุกรณ : (นปุ.) การถาก, การทำให้บาง, การ ไส. ตนุปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, ยุ.
ตนุตา : อิต., ตนุตฺต นป., ตนุภาว ป. ความผอม, ความบาง, ความน้อย
ตนุรุห : (นปุ.) ขน วิ. ตนุมฺหิ รูหตีติ ตนุรุหํ. ตนุปุพฺโพ, รุหฺ ชนเน ปาตุภาเว วา, อ.
ตนุตฺตาน : นป. เสื้อเกราะ
ตนุตร : ค. บางกว่า, น้อยกว่า
ตนุมชฺฌิม : (วิ.) อันมีในท่ามกลางตัว, เอว บางร่างน้อย.
ปตนุ : ค. บางมาก, แบบบาง, น้อยยิ่ง
สุตฺตนุต : (นปุ.) สุตตันตะ พระสูตร ชื่อพระพุทธวจนะปิฎกที่ ๒ ใน ๓ ปิฎก. สุตฺต+อนฺตสกัด เพื่อให้ศัพท์สละสลวย. สุตฺตํ เอว สุตฺตนฺตํ. เวสฯ ๓๐๖.
อตนุ : (ปุ.) พระอาทิตย์
ปริต : (ปุ.) ความแผ่ไป, ความขยาย, ความกว้าง. ปริปุพฺโพ, ตนุ วิตฺถาเร, โร. กัจฯ ๖๓๙ วิ. ปริ ตโนตีติ ปริโต. กฺวิ ปัจ.
ตนย : (ปุ.) ลูก, ลูกชาย, ดนัย. วิ. ตนุมฺหา ชาโต ตนโย. ตนุ + ย ปัจ. ชาตาทิตัท. ตโนติ มุท มิติ วา ตนโย. ตนุ วิตฺถาเร, อโย, โย วา.
กุส : (วิ.) ตัดบาป วิ. กุ สาติ ตนุ กโรตีติ กุสํ. กุปุพฺโพ, สา ตนุกรเณ, อ.
ตต : (วิ.) แผ่, แผ่ไป, ขยาย, กว้างขวาง., แพร่หลาย. ตนุ วิตฺถาเร, โต, นฺโลโป.
ตนฺต : (วิ.) สูงสุด (มุขฺย). ตนุ วิตฺถาเร, โต.
ตนฺต ตนฺตร : (นปุ.) การแผ่, การแผ่ไป, การขยาย, การขยายไป. ตนุ วิตฺถาเร, ต, ตรณฺ ปัจ. รูป ฯ ๖๕0.
ตนฺติ : (อิต.) พระพุทธวจนะ, พระบาลี. วิ. ตนียติ วิตฺถารียตีติ ตนฺติ. ตนุ วิตฺถาเร, ติ. รูปฯ และอภิฯ.
ตนฺตุ : (ปุ.) ด้าย, เส้นด้าย. อภิฯ วิ. ตญฺญเตติ ตนฺตุ. รูปฯ ๖๖๕ วิ. ตโนตีติ ตนฺตุ. ตนุ วิตฺถาเร, ตุ.
ตนน : (นปุ.) การแผ่, การแผ่ไป, การขยาย, การขยายไป, ความแพร่หลาย, ความกว้างขวาง. ตนุ วิตฺถาเร, ยุ.
ติณว : (ปุ.) มโหระทึก ชื่อกลองโลหะชนิดหนึ่ง ของชนชาติที่อยู่ตอนใต้ของประเทศจีน. ตนุ วิตฺถาเร, อโว, ณตฺตํ, อสฺส อิตฺตํ.
ติถิ : (ปุ. อิต.) วัน (วันทางจันทรคติ), ดิถี.วิ. ตโนตีติ ติถิ. ตนุ วิตฺถาเร, ถิ, นุโลโป, อสฺสิ ( แปลง อ เป็น อิ). อถวา, ตายตีติ ติถิ. ตา ปาลเน, อิถิ. เป็น ติถี ติตฺถี ก็มี. ส. ติถิ ติถี.
ตินฺตืณี : (อิต.) มะขาม. วิ. อมพิรสํ ตโนตีติ ตินฺติณี. ตนุ วิตฺถาเร, อ. เทว๎ภาวะ ต เอา อ ที ต เป็น อิ ลงนิคคหิตอาคม แปลง น เป็น ณ อี อิต.
ตินฺทุก : (ปุ.) มะพลับ. ตนุ วิตฺถาเร, อุโก, ทนฺโต ( ลง ทฺ ที่สุดธาตุ ). ติทิ หึสายํ วา, อุ, สญฺญายํ โก.
ตินีส : (ปุ.) ไม้เต็ง, ไม้อุโลก. วิ. รถํ ตโนติ เยนโส ตินีโส. ตนุ วิตฺถาเร, อีโส. แปลง อ ที่ ต เป็น อิ.
ตุณฺฑ : (นปุ.) ปาก, หน้า, จะงอย ( ปลายหรือ ที่สุดของปากสัตว์ดิรัจฉาน) , จะงอยปาก. ตุทิโตฑเน, อ, นิคฺคหิตาคโม. ตนุ วิตฺถาเร วา, โฑ, อสฺสุตฺตํ, นสฺส ณตฺตํ เป็น ตุณฺฑิ บ้าง ?
ถน : (ปุ.) นม (อวัยวะสองเต้าที่หน้าอก สัตว์ บางชนิดมีหลายเต้า), เต้านม, ถัน. ตนุ วิตฺถาเร, อ, ตสฺส โถ. ถรฺ เทวสทฺเท วา, อ. เถนฺ โจริเย วา. อภิฯ และ ฏีกาอภิฯ.
กิส กิสล : (วิ.) ผอม, บาง, ซูบ, น้อย. กิสฺ ตนุกรเณ สาเน วา, อ. อภิฯ ลง ณ ปัจ. กัจฯ ๖๗๓ วิ. กิตพฺพนฺติ กิสํ. กิ หึสายํ. อิส ปัจ. ศัพท์หลัง กิสฺ ธาตุ อล ปัจ.
เกสร : (ปุ.) บุนนาค, ไม้บุนนาค. อติสยปุปฺผ- เกสรวนฺตตาย เกสโร. กิสฺ ตนุกรเณ, อโร. ปุปฺผเกสยุตฺตตาย วา เกสโร. โร.
โขม : (นปุ.) ผ้าทอด้วยเปลือกไม้, ผ้าเปลือก ไม้, ผ้าขาว?, ผ้าป่าน, ผ้าใยไหม (ผ้า ลินิน), ผ้าโขมะ, โขมพัตถ์ (ผ้าทำด้วย เยื่อไม้). วิ. ตนุรุหํ ขายติ (ขุยฺยติ) อุตฺตมภาเวนาติ โขมํ. ขุ สทฺเท, โม. ขุมาย วา วิกาโร โขมํ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
ภทฺททารุ : (ปุ.) เทพทาโร, ไม้เทพทาโร. วิ. เทวานํ ตนุภูตตฺตา ภทฺทญฺจ ตํ ทารุ เจติ ภทฺททารุ.
สาณ : (ปุ.) หินฝนทอง. วิ. สายติ อาวุเธ เอเตนาติ สาโณ. สา ตนุกรเณ, ยุ. เป็นสวน บ้าง.
สาติ : (อิต.) สาติ ชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่ ๑๕ ใน ๒๗ กลุ่ม มี ๕ ดวง, ดาวช้างพัง. วิ. สาติ สุภาสุภนฺติ สาติ. สา ตนุกรเณ, ติ.
สามา : (อิต.) ประยงค์ ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง ดอกสีเหลืองเป็นช่อมีกลิ่นหอมมาก. สา ตนุกรเณ, โม.
สายก : (ปุ.) ลูกธนู, ลูกศร, กระบี่, ดาบ, พระขรรค์, สา ตนุกรณาวสาเนสุ. ณฺวุ. ส. สายก.
อาตต : (นปุ.) อาตตะชื่อกลองที่หุ้มหนังด้านเดียวมีกลองกุมภถุนะและกลองคัททรีเป็นต้น, กลองยาว, กลองรำมะนา.วิอาตโนตีติอาตตํ.อาปุพฺโพ, ตนุวิตฺถาเร, อ. แปลงนเป็นต.
อายตน : (นปุ.) ที่เป็นที่มาร่วมกัน, ที่เป็นที่มาประชุมกัน, ที่เป็นที่มาพร้อมกัน, ที่ประชุม, ที่เป็นที่ต่อ, ที่เป็นที่มาต่อ, แดนติดต่อกัน, เทวาลัย, ที่อยู่, ประเทศที่เกิด, บ้านเกิดเมืองนอน, บ่อ, บ่อเกิด, อากร, เหตุ, หมู่, ฝูง, ปทปูรณะ ( การทำบทให้เต็มให้สละสลวย), ลัทธิอุ.ติตฺถายตนํลัทธิเดียรถีย์.อาปุพฺโพตนุวิตฺถาเร, อ.อถวา, อาปุพฺโพ, ยตฺปยตเน, ยุ.ส. อายตน.
ตนยา : (อิต.) ลูกหญิง, ลูกสาว.
จิรนฺตน : (วิ.) ชั่วก่อน (ระยะก่อน), ชั่วเพรง (เพรง คือ ก่อนเก่า), ก่อน, มีในก่อน. วิ. จิรํ ภโว จิรนฺตโน. จิรํ+ตน ปัจ. แปลง นิคคหิตเป็น น. ฎีกาอภิฯ ว่า ลบนิคคหิต ถ้าถือตามมติฎีกาฯ ก็ต้องลง นฺ สังโยค หรือ นฺ อาคมหน้าปัจ.
ปุราตน :
(วิ.) เก่า, ก่อน, ฯลฯ. วิ. ปุรา ภโว ปุราตโน. ตน ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๒๒. ดู ปุราณ(วิ.)
สฺวาตน : (อัพ. นิบาต) มีในวันพรุ่ง วิ. เ สฺว ภวํ สฺวาตนํ. เ สฺว+ตน ปัจ. แปลง เอ เป็น อา รูปฯ ๔๐๗.
หิยฺยตฺตน : (วิ.) เป็นในวันวาย, มีในวันวาน. วิ. หิยฺโย ภโว หิยฺยตฺตโน. ที่เป็นวิเสสนะ ของ อิต. เป็น หิยฺยตฺตนี. หิยฺย+ตน ปัจ.
เกตน : (นปุ.) การกำหนด, การหมาย, ธง, บ้าน, เรือน, ที่อาศัย. กิตฺ ญาณนิวาเสสุ,ยุ.ส.เกตน.
เขตต : (นปุ.) ภริยา, สรีระ, ตน, แดน, แคว้น, นา, ไร่, ไร่นา, ที่, ที่ดิน, ทุ่ง, ทุ่งนา, เขต. วิ. พีชานิ ขิปิยนฺตีติ เขตฺตํ. พีชานิ ขิปนฺตฺ- ยสฺมินฺติ วา เขตฺตํ. ขิปฺ เปรเณ, โต, ปการสฺส ตตฺตํ. ขิตฺตํ พิชํ มหปฺผลภาวกร- เณน ตายตีติ วา เขตฺตํ. ขิตฺตปุพฺโพ, ตา ปาลเน, โต, อิสฺเส, ตการทฺวยโลโป (ลบ ตฺต แห่ง ขิตฺต) ที่แปล เขตฺต ว่า ภริยานั้น เพราะเป็นที่งอกงามของพืช คือ บุตร. ส. กฺษตร.
ธมฺมจกฺกปฺปวตฺตนสุตฺต : (นปุ.) ธรรมจัก- กัปปวัตตนสูตร ชื่อพระสูตรซึ่งพระพุทธ- เจ้าทรงแสดงครั้งแรกแก่พระเบญจวรรคีย์ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ปฐมเทศนา.