ตถ : (วิ.) จริง, แท้, เที่ยง, ตรง, ถูกต้อง.
นิพฺพงฺก : ค. ซึ่งไม่คด, ซึ่งไม่งอ, ซึ่งไม่โค้ง, ตรง
อชิมฺห : (วิ.) ซื่อ, ตรง, ซื่อตรง, ไม่คด, ไม่โค้ง.น+ชิมฺห.
อญฺชย : ค. ซื่อ, ตรง
ปทกฺขิณ : (วิ.) ดี, เจริญ, รุ่งเรือง, สุจริต, ( ตรง ซื่อ ซื่อตรง ไม่เอนเอียง จริง).
กมฺมสจฺจ : ค. ซึ่งมีความเที่ยงตรงต่อกรรม, มีกรรมเป็นความจริง
กายุชฺชุกตา : อิต. ความตรงของกาย
กูฏฏฐ : ค. สม่ำเสมอ, เนืองนิจ, แน่นอน, ถาวร, มั่นคง, ไม่หวั่นไหว, ตั้งตรง
ขนฺธเทส : (ปุ.) ที่ที่คอ, ที่ที่คอช้างตรงควาญ ช้างนั่ง. ดูรูปภาพจิตรกรรมประกอบ. วิ. ขนฺโธ เอว เทโส ขนฺธเทโส.
คณาจริย : (ปุ.) อาจารย์ของหมู่, คณาจารย์ (อาจารย์ของมหาชน). ภาษาพูด เรียก พระที่มีวิชาอาคมขลังว่าพระคณาจารย์ ซึ่งมีความหมายไม่ตรงกับศัพท์นี้.
โคกณฺณ : (ปุ.) โคกัณณะชื่อของคืบชนิด ๑ ใน ๔ ชนิด คือการเหยียดนิ้วมือและนิ้วนาง คืบออกให้ตรง.
ฉฎา : (อิต.) ความรุ่งเรือง, ฯลฯ, รัศมี, เส้นตรง, แถวตรง. ส. ฉฏา.
ชมฺภนา : (อิต.) การเหยียด (ทำสิ่งที่งอให้ตรง), การเหยียดกาย. ชภิ คตฺตวิมาเน, ยุ, นิคคหิตาคโม.
ตถาการี : (วิ.) (คนตรง คิด พูดอย่างไร) ทำ อย่างนั้น.
ตถาคต : (ปุ.) ท่านผู้ไปแล้วอย่างนั้น คือไปตรงต่อความจริง, พระตถาคต เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. วิ. ตโถ อาคโท เอตสฺสาติ ตถาโต (มีโวหารถูก ต้องหรือตรัสจริง) ตถ+อาคท แปลง ท เป็น ต หรือ ตถ แล อา+คมฺ+ต ปัจ. ลบ ที่สุดแห่งธาตุ. อภิฯ วิ. ยถา ปุริมกา สมฺพุทฺธา คตา ตถาคโตติ ตถาคโต. และ ชื่อว่า พระตถาคต เพราะเหตุ ๘ ประการ คือ : ๑. ตถา อาคโตติ ตถาคโต. ๒. ตถา คโตติ ตถาคโต. ๓. ตถลกฺขณํ อาคโตติ ตถาคโต. ๔. ตถธมฺเมยาถาวโต อภิสมฺพุทฺโธติ คถาคโต. ๕. ตถทสฺสิตาย ตถาคโต. ๖. ตถวาทิตาย ตถาคโต. ๗. ตถาการิตาย ตถาคโต. ๘. อภิภวนฏฺเฐน ตถาคโต.
ตพฺพิปกฺข : ค. ซึ่งเป็นปฏิปักษ์ต่อสิ่งนั้น, ตรงกันข้ามกับสิ่งนั้น
ทิฏฺฐชุกมฺม : (นปุ.) การทำความเห็นให้ตรง คือการทำความเห็นให้ถูกต้องตามหลัก ธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธศาสนา.
ทิฏฺฐิวิสูก : นป. ทิฐิอันเป็นข้าศึก, ลัทธิตรงข้าม, ความเห็นผิด
ทิพฺพภูสา : (อิต.) ผ้าอันเป็นทิพย์, ผ้าทิพ, ผ้า ทิพย์, ผ้าทพ ผ้าทิพย์ ชื่อผ้าที่ห้อยตรง หน้าฐานพระพุทธรูป ทำเป็นลายผ้า เมื่อปั้นหุ่นฐานพระพุทธรูป เมื่อเทวัตถุอะไรลงไปตามที่ต้องการก็สำเร็จเป็นผ้าทิพย์พร้อมกับฐานนั้น. อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของพระราชอาสน์พนักพลับพลา.
ธมกรก : (ปุ.) คนที (หม้อน้ำ หม้อมีหู เต้า น้ำ, ธัมกรก, ธมกรก (ธะมะกะหรก) ชื่อบริขารของ ๑ ใน ๘ อย่าง ของภิกษุ เป็นกระบอกก้นกลวง ผูกผ้าไว้ข้างบนปิดสนิท เจาะรูตรงกลางใส่หลอดยาวประมาณ ๔ นิ้ว มีหูสองข้างหลอด สำหรับใช้กรอง น้ำ เป็น ธมการก ก็มี.
นปุสก : (ปุ.) บัณเฑาะก์ (กะเทย), กะเทย (คนที่มีอวัยวะเพศทั้งชายและหญิง หรือ คนที่มีจิตใจกิริยาอาการตรงกันข้ามกับเพศของตน). คนมิใช่ชายมิใช่หญิง, คนมิใช่ หญิงมิใช่ชาย. วิ. อิตฺถีภาวปุมภาวรหิโต ปุคฺคโล, โส หิ ปุริโส วย สาติสยํ ปจฺจา- มิตฺเต น ปุเสติ อภิมทฺทนํ กาตํ น สกฺโกตีติ นปุสโก (ข่มขี่ข้าศึกไม่ได้). นปุพฺโพ. ปุสฺอภิมทฺทเน, ณฺวุ, นิคฺคหิตาคโม, เกจิ ปน น ปุมา น อิตฺถีติ นปุสโกติ ลจนตฺถํ วทนฺติ.
นิกต : (วิ.) โกง, ชั่ว, ไม่ตรง. นิกนฺตตีติ นิกโต. นิปุพฺโพ, กนฺตฺ เฉทเน, อ. ลบ นฺสังโยค. ส. นิกฤต.
นิคฺคจฺฉติ : ก. ออกไป, จากไป, เดินตามไป, ตรงไปยัง, เข้าถึง
นิปฺปริยาย : ค. ไม่แตกต่าง, ไม่อ้อมค้อม, แน่ชัด, ตรงไปตรงมา, สิ้นเชิง
ปจฺจนีก : ค. เป็นข้าศึกกัน, ตรงกันข้าม, ปัจนึก
ปฏิเกฬนา : อิต. การเล่นโต้กลับ, การเล่นฝ่ายตรงข้าม; การเย้ยหยันตอบ
ปฏิติตฺถ : นป. ฝั่งตรงข้าม (ของแม่น้ำ)
ปฏิทิสา : อิต. ทิศตอบ, ทิศตรงข้าม, ด้านตรงข้าม
ปฏิปกฺข : ป., ค. ปฏิปักษ์, ฝ่ายตรงข้าม, ศัตรู; ซึ่งเป็นปฏิปักษ์
ปฏิปกฺขิก : ค. ซึ่งเป็นไปในฝ่ายตรงข้าม; ซึ่งอยู่ในฝ่ายตรงข้าม, อันเป็นปฏิปักษ์
ปฏิปถ : ป. ทางตรงข้าม, ทางขวางหน้า, ทางสวนกัน
ปฏิมุข : ค. ตรงข้าม, ซึ่งอยู่เฉพาะหน้า, ซึ่งเผชิญหน้า, เฉพาะหน้า, ต่อหน้า
ปฏิโยธ : ป. นักรบฝ่ายศัตรู, ทหารฝ่ายตรงข้าม, การต่อสู้ของฝ่ายตรงข้าม
ปฏิราช : ป. พระราชาฝ่ายตรงข้าม, ราชาผู้เป็นศัตรู
ปฏิโลม : ค. ปฏิโลม, ตรงกันข้าม, ขัดกัน, ทวนกลับ
ปฏิโลมปกฺข : ป. ฝ่ายที่ตรงกันข้าม, ฝ่ายค้าน, ส่วนตรงข้าม
ปทฺธติ : (ปุ.) ผมที่แสกตรงกลางศีรษะของหญิง, แสกผม.
ปเทส : (ปุ.) การเหยียดนิ้วหัวแม่มือและ นิ้วกลางออกให้ตรง, คืบ ชื่อมาตราวัด ระยะแบบโบราณ ๑๒ นิ้ว เป็น ๑ คืบ. ปปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, โณ.
ปรชน : ป. คนอื่น, คนแปลกหน้า, คนภายนอก, คนฝ่ายตรงข้าม, ข้าศึก, ปีศาจ
ปรปฺปวาท : ป. ลัทธิของผู้อื่น, ลัทธิตรงข้าม
ปรวาท : ป. คำกล่าวของผู้อื่น, คำเล่าลือของผู้อื่น; วาทะฝ่ายตรงข้าม, คำโต้แย้ง
ปรายณ, - ยน : นป. ที่พึ่ง, ที่พำนัก, ที่พักพิง, เครื่องแบ่งเบา, จุดหมายขั้นสุดท้าย, จุดจบ; ในคำสมาสแปลว่า....เป็นที่ไปในเบื้องหน้า, มี....เป็นที่สุด, ตรงต่อ..., เที่ยงต่อ...
พฺยตฺตย : (ปุ.) ความแปรปรวน, ความตรงกันข้าม. วิ อติปุพฺโพ, อยฺ คมเน, อ. แปลง อิ ที่ วิ เป็น ย แมลง วฺ เป็น พ. ลบ อิ ที่ ติ บวก อย ซ้อน ตฺ.
พฺรหฺมุชฺชุคตฺต : ค. มีกายตรงเหมือนกายพรหม, มีท่าทางสง่างาม (ลักษณะอย่างหนึ่งในกายของมหาบุรุษ)
ภทฺท :
(วิ.) งาม, ดี. (ตรงข้ามกับชั่ว), ดีนัก, เป็นที่ชอบใจ, เป็นสุข, เจริญ ,จำเริญ, เรือง, รุ่งเรือง, ผุดผ่อง, ประเสริฐ, น่ารัก, น่าชม, สบาย, สำราญ, สวัสดี, เป็นมงคล, หล่อ (งาม). ภทิ กลฺยาณสุขภาเวสุ, โท, รูปฯ ๖๕๕. ดู ภทฺร ด้วย.
มาฆบูชา : (อิต.) การบูชาในวันเพ็ญเดือน ๓, การบูชาด้วยปรารภเหตุสำคัญของพุทธศาสนาซึ่งเกิดขึ้นในวันเพ็ญเดือนมาฆะ ถ้าปีใดมีอธิกมาสจะเลื่อนไปทำการบูชาเพ็ญกลางเดือน ๔ วันมาฆบูชามีความสำคัญ ดังนี้ – ๑. เพราะตรงกับวันจาตุรงคสันนิบาต (ดูคำจตุรงฺคสนฺนิปาต ด้วย). พระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ภายหลังจากตรัสรู้ได้ ๙ เดือน และ ๒. เพราะตรงกับวันปลงพระชนมายุสังขารในพรรรษาสุดท้าย ก่อนเสด็จดับขันธปรินิพพาน ๓ เดือน.วันมาฆบูชา เป็นวันพระสงฆ์.
รมฺมก : ป. ชื่อเดือนจิตรมาส ตรงกับเดือนเมษายน
วฺยตฺตย : นป. ความแปรปรวน, ความตรงกันข้าม
วิปริยาย : ป. ความตรงกันข้าม
วิปรีต : ค. ตรงกันข้าม, ผิดปรกติ, แปรปรวน