ถทฺธ : (วิ.) ดื้อ, ดื้อด้าน, ดื้อดึง, แข็ง, กระด้าง, แข็งกระด้าง, แน่น, แน่นหนา, มั่น, ตระหนี่, หยิ่ง, เย่อหยิ่ง. ถภิ ปติพนฺธเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ.
มจฺฉรายติ : ก. เห็นแก่ตัว, ตระหนี่
อปชห : ค. ไม่สละ, ตระหนี่
กปณ : (วิ.) ผู้มีฝ่ามืออันบัณฑิตเกลียด, ผู้มีฝ่า มือน่าเกลียด, ตระหนี่. กุจิฉิต+ปณ ลบ จฺฉิต.
ขุทฺท : (วิ.) เล็ก, น้อย, เล็กน้อย, ต่ำช้า, ต่ำ- ทราม, ยากไร้, กำพร้า, ตระหนี่.
กทริย : (วิ.) ผู้มีความตระหนี่อันกระด้าง, ผู้ ตระหนี่, ผู้ดีเลว. วิ. ปรานุปโภเคน อตฺถสญจยสีลตฺตา กุจฺฉิโต อริโย อตฺถปติ กทริโย. อทายกตฺตา กุจฺฉิตํ ฐานํ อรตีติ วา กทริโย. กุปุพฺโพ, อรฺ คมเน, อิโย, กุสฺส กทอาเทโส.
ถทฺธมจฺฉรี : (วิ.) ตระหนี่, ตระหนี่กระด้าง.
มจฺฉร มจฺเฉร : (วิ.) ตระหนี่, มีความตระหนี่, หวงแหน, เหนียวแน่น, เห็นแก่ตัว.
อวทานิย : ค. ตระหนี่, อันตกต่ำ
กฏุกญฺจุกตา : อิต. ความขี้เหนียว, ความตระหนี่, ความเข้มงวด
กทริยตา : อิต. ความตระหนี่
กายมจฺเฉร : อิต. ความตระหนี่ร่างกาย, ความเห็นแก่ตัว
กุลมจฺฉริย : นป. ความตระหนี่ตระกูล, ความหวงแหนตระกูล
เกราฏิก : ค., ป. ผู้คดโกง, ผู้หลอกลวง; คนโกง, คนหลอกลวง, คนตระหนี่
ขทฺท : (ปุ.) คนตระหนี่?.
มจฺฉร, มจฺฉริย : นป. ความตระหนี่
มจฺฉรายนา : (อิต.) กิริยาที่ตระหนี่.
มจฺฉริย : (นปุ.) ความตระหนี่, ฯลฯ. วิ. มจฺฉร เมว มจฺ-ฉริยํ. มจฺฉรภาโว วา มจฺฉริยํ. อิย ปัจ. สกัด.
มจฺฉรี : ป. คนตระหนี่
สมจฺเฉร : (วิ.) ผู้เป็นไปกับด้วยความตระหนี่, อันเป็นไปกับด้วยความตระหนี่.
สุกทริยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ตระหนี่เหนียวแน่นยิ่งนัก, ความเป็นผู้ตระหนี่เหนียวแน่นยิ่งนัก.
อตฺตสมฺมาปณิธิ : (นปุ.) การตั้งไว้ซึ่งตนโดย-ชอบ, ความตั้งไว้ซึ่งตนโดยชอบ, การตั้งตนไว้ชอบ. วิ. อตฺตโน สมฺมา ปณิธิ อตฺตสมฺมา ปณิธิ. คนไม่มีศิล ได้รับคำสอนแล้วทำตนให้มีศิล คนไม่มีศรัทธาทำตนให้มีศรัทธาคนมีความตระหนี่ทำตนให้ถึงพร้อมด้วยการบริจาคหรือตั้งตนไว้ในกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการชื่อว่า การตั้งตนไว้ชอบ.
อมจฺฉร : ค. ไม่ตระหนี่, ไม่เห็นแก่ตัว
อมจฺฉรอมจฺฉรี : (วิ.) ผู้ไม่มีความตระหนี่, ผู้ไม่ตระหนี่.
อมจฺฉร อมจฺฉรี : (วิ.) ผู้ไม่มีความตระหนี่, ผู้ไม่ตระหนี่.
อาวาสมจฺฉริย : (นปุ.) ความตระหนี่ซึ่งที่อยู่, ความตระหนี่ที่อยู่, ความหวงที่อยู่.