Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตรี , then ตร, ตริ, ตรี .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตรี, 86 found, display 1-50
  1. ตรี : (ปุ. อิต.?) เครื่องนุ่งห่ม, ทางเดิน. ตรฺ ธารเณ, อี.
  2. ตริ, ตรี : อิต. ดู ตรณี
  3. ตริ ตรี : (อิต.) เรือ, สำเภา, กำปั่น, แพ. ตรฺ ตรเณ. รูปฯ ลงอิ ปัจ. อภิฯ ลง อี ปัจ.
  4. กตฺตริ, - ริกา, - ตรี : อิต. กรรไกร, ตะไกร, มีด; กลาสี
  5. อุตฺตริ, - ตรี : ก. วิ. ส่วนบน, ข้างบน, เหนือยิ่ง, กว่านั้น
  6. ตรี : ป. มหาสมุทร; ท้องฟ้า; แพ
  7. อนฺตรี : (นปุ.) เกาะ.วิ. ทฺวิธาคตานมาปานมนฺตรคตํอนฺตรีปํ.แปลงอที่รเป็นอี.อการสฺสี.
  8. อนฺตรี : (นปุ.) ผ้านุ่ง.วิ, พาหุเลฺยนอนฺตเรภวํอนฺตรียํ.อียปัจ.ส. อนฺตรียกางเกงชั้นในกางเกงใน.
  9. อุตฺตรี : (นปุ.) ผ้าห่ม, อุตตราสงค์. วิ. อุตฺตรสฺมึ เทหภาเค ภวํ อุตฺตรียํ. อีย ปัจ.
  10. ตร : (ปุ.) แพ วิ. ตรติ อเนนาติ ตโร. ตรฺ ตรเณ, อ.
  11. อชินปตฺตา : (อิต.) ค้างดาว.วิ.อชินํจมฺมํปตฺตํ ยสฺสา สา อชินปตฺตาเป็นอชินปตฺติกา บ้าง. ส. อชินปตฺตรา อชินปตฺตรีอชินปตฺตริกา.
  12. ธริตฺติ : (อิต.) ดิน, แผ่นดิน, โลก, ธริษตรี, ธเรษตรี, ธาษตรี. ส. อริตฺรี.
  13. นวกภูมิ : (อิต.) ชั้นต้น, ลำดับ, ฐานะต้น, ฯลฯ, นวกภูมิ คือชั้นหรือฐานะของคน ชั้นต้น ในพุทธศาสนา หมายถึง นักธรรม ชั้นตรี ธรรมศึกษาชั้นตรี พระชั้นต้น คือ ตั้งแต่อุปสมบทถึงพรรษาครบ ๕ ใน พจนาฯ นับตั้งแต่อุปสมบทถึงครบพรรษา ๔.
  14. นวโกวาท : (ปุ.) โอวาทเพื่อภิกษุใหม่, คำสั่ง สอนสำหรับภิกษุและสามเณรผู้บวชใหม่, นวโกวาท ชื่อหนังสือเล่ม ๑ ซึ่งทางคณะ สงฆ์ประกาศใช้เป็นหลักสูตรนักธรรมชั้น ตรีและธรรมศึกษาชั้นตรี (ธ.ศ. ตรีนั้น ใช้เฉพาะส่วนธรรมวิภาคและคิหิปฏิบัติ).
  15. อฏฺฐาวุธ : (นปุ.) อาวุธแปด อัษฎาวุธ อาวุธ แปด คือ พระแสงหอกเพชรรัตน์ พระ แสงดาบเชลย พระแสงตรี พระแสงดาบ และเขน หรือ พระแสงดาบและโล่ พระ แสงธนู พระแสงของ้าวแสนพลพ่าย และพระแสงปืนคาบชุดข้ามแม่น้ำสะ โตง.
  16. อฏฺฐาวุธ : (นปุ.) อาวุธแปดอัษฎาวุธอาวุธแปดคือพระแสงหอกเพชรรัตน์พระแสงดาบเชลยพระแสงตรีพระแสงดาบและเขนหรือพระแสงดาบและโล่ พระแสงธนูพระแสงของ้าวแสนพลพ่าย และพระแสงปืนคาบชุดข้ามแม่น้ำสะโตง.
  17. ตริตตฺต : นป. ความเป็นแห่งบุคคลผู้ข้ามหรือผ่านแล้ว, การข้ามพ้นแล้ว
  18. ตริตุ : ป. ผู้ข้าม, ผู้ผ่าน
  19. ตริตุ : อ. (ปฐ., จตุ) การข้าม, เพื่อข้าม
  20. พหุตร : (วิ.) มากกว่า. พหุ+ตร ปัจ.
  21. ตรุ : (ปุ.) ต้นไม้, กอไม้. วิ. ตรนฺติ อเนนาติ ตรุ. ตรฺ ตรเณ, อุ. รูปฯ ๖๓๕ ลง ณุ ปัจ. ไม่มีฆะ.
  22. ติร : (วิ.) ต่ำ, ต่ำต้อย,ต่ำทราม. ติรฺ อโธคติยํ, อ.
  23. ตีร : (นปุ.) ท่าน้ำ,ฝั่ง,ตลิ่ง,เตียร,เดียร,วิ. ชลํ ตายตีติ ตีรํ. ตา ปาลเน, โร, อาสฺสี. ตีรฺ กมฺมสามตฺถิเย, อ. เป็น ติร บ้าง . ส ตีร.
  24. ตุร : (วิ.) รีบ, เร็ว, พลัน, ด่วน. ตุรฺ สีฆคติยํ, อ.ตุร.
  25. ตุริ : (นปุ.) วัตถุไปเร็ว, กระสวย. ตุรฺ สีฆคติยํ, อิ.
  26. อุตฺตริมนุสฺสธมฺม : (ปุ.) ธรรมของมนุษย์ ผู้ยิ่ง, ฯลฯ, ธรรมอันยิ่งของมนุษย์, ฯลฯ, คุณอันยิ่งของมนุษย์, ฯลฯ, อุตตริมนุสธัม. อุตตริมนุษยธรรม คือคุณธรรม (ความดี ผล) อันเกิดจากการปฏิบัติสมถะ (สมาธิ) ถึงขั้นจิตเป็นอัปปนา หรือจากการปฏิบัติ วิปัสสนาถึงขั้นละกิเลสเป็นสมุจเฉท มีคำ เรียกคุณธรรมนั้น ๆ อีกหลายคำ พระพุทธ เจ้าทรงห้ามภิกษุอวด ปรับอาบัติขั้นสูงถึง ปาราชิก วิ. อุตฺตริมนุสฺสานํ ญายินญฺเจว อริยานญฺจ ธมฺโม อุตฺตริ มนุสฺสธมฺโม.
  27. กตฺตริ กตฺตริย : (นปุ.) กรรไกร, ฯลฯ.
  28. กตฺตริกา : (อิต.) กรรไกร, กันไตร, กรรไตร, ตะไกร, กันไกร.
  29. จตุกฺกงฺคุตฺตร : (ปุ.) จตุกกนิบาต, อังคุตตรนิ- กาย.
  30. จิรตร : อ. นานกว่า, ยั่งยืนกว่า
  31. ตนุตร : ค. บางกว่า, น้อยกว่า
  32. ติโร : (อัพ. นิบาต) ภายนอก, ขวาง, ปิด, โดยขวาง, ในเบื้องขวาง, ในภายนอก. รูปฯ นามกัณฑ์ว่าลงในอรรถสัตมี.
  33. ตุร, ตูริย : นป. ดู ตุริย
  34. ทสฺสนานุตฺตริย : (นปุ.) ความเห็นอันประเสริฐ, ความเห็นอย่างประเสริฐ.
  35. นวกตร : ค. ใหม่กว่า, อ่อนกว่า
  36. นิรุตฺตร : ค. ซึ่งไม่มีผู้อันยิ่งกว่า, ผู้สูงสุด, ผู้ประเสริฐสุด, ซึ่งไม่น่าตอบ
  37. ปญฺจานนฺตริย : นป. อนันตริยกรรมห้า, กรรมหนักห้าประการ (ฆ่ามารดา, ฆ่าบิดา, ฆ่าพระอรหันต์, ทำพระโลหิตของพระพุทธเจ้าให้ห้อ, ทำลายสงฆ์ให้แตกกัน)
  38. ปฐมตร : อ. ก่อนกว่า, แรกที่สุด
  39. อติเรกตร : (วิ.) มากกว่า, ยิ่งกว่า, ลาภเกินกว่ากำหนด, อติเรกลาภ คือของที่ได้มามากกว่าที่กำหนดไว้ได้มาเกินจากรายได้ปกติของที่ได้มาเป็นครั้งคราว.ส.อติเรกลาภ.
  40. อติเรก, อติเรกตร : ก. วิ. มากยิ่ง, มากกว่า
  41. อธิกตร : ค. มากยิ่งกว่า
  42. อนฺตริก : ค. มีอยู่ในระหว่าง, ต่อไป, ถัดไป
  43. อนฺตริกา : อิต. ภายในระหว่าง, ช่อง
  44. อนุตฺตริย : (วิ.) ดีเลิศ, ยิ่ง, อย่างยิ่ง, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, อนุตฺตร ศัพท์อิยปัจ.สกัด?
  45. อพฺภนฺตริก : ค. สนิทสนม, ไว้ใจ, เชื่อใจ
  46. อพฺภนฺตริม : ค. ดู อพฺภนฺตร
  47. อานนฺตริก, - ริย : ค. (กรรมที่ให้ผล) ไม่มีระหว่าง, (กรรม) ที่ไม่ให้กรรมอย่างอื่นเข้ามาแทรก, ติดต่อ, สืบเนื่อง, ทันทีทันใด
  48. อุตฺตริ : (วิ.) ยิ่ง, ยอดเยี่ยม, ชั้นเยี่ยม, แปลก, มากขึ้น, อุตริ. คำ อุตริ ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยออกเสียงว่า อุดตะหริ ใช้ใน ความหมายว่า แปลกออกไป นอกแบบ นอกทาง.
  49. อุตฺตริภงฺค : (ปุ.) แกงอันหักเสียซึ่งรสอันยิ่ง, แกงมีรสอร่อย, แกงอันมีรสต่าง ๆ, แกง อ่อม, ต้มยำ.
  50. อุตฺตริมนุสฺสธมฺมสิกฺขาปท : (นปุ.) สิกขาบท อันบัณฑิตกำหนดแล้ว ด้วยธรรมของ มนุษย์ผู้ยิ่ง, ฯลฯ.
  51. [1-50] | 51-86

(0.0242 sec)