Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตลาดเสรี, เสรี, ตลาด , then ตลาด, ตลาดเสรี, สร, เสริ, เสรี .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตลาดเสรี, 74 found, display 1-50
  1. เสรี : (ปุ.) บุคคลผู้มีอิสระ (ทำหรือพูดได้โดยไม่ละเมิดสิทธิ์ของผู้อื่น). วิ. อตฺตนา อีริตํ สีล มสฺสาติ เสรี.
  2. กจงฺคน : นป. ตลาดเสรี
  3. เสริ : อิต. ความพอใจของตน, ความเป็นใหญ่แก่ตน
  4. นิคม : (ปุ.) ย่านการค้า, หนทางพ่อค้า, ตลาด, หมู่บ้าน, หมู่บ้านใหญ่, ตำบล, บาง, นคร, เวท, คำซ้ำ, คำกล่าวซ้ำ. ส. นิคม.
  5. อาปณ : (ปุ.) ที่เป็นที่มาเป็นไป, ร้านเป็นที่มาแผ่ร้านขายของ, ตลาด, ร้านตลาด, การค้าขายวิ. อาปณายนฺเตพฺยวหารยนฺเตอสฺมินฺติอาปโณ.อาปุพฺโพ, ปณฺวฺยวหาเร, โณ.เป็นนปุ.บ้าง.ส. อาปณ.
  6. สร : (วิ.) ไป, ถึง, เป็นไป, เที่ยวไป, ออกเสียง, กำจัด, ขจัด, คิด, คำนึง, นึก, ระลึก, เปล่งออก, ซ่านออก.
  7. กรงฺคณ : นป. ตลาด
  8. เสรีธมฺม : (ปุ.) หลักแห่งเสรีภาพ. เสรีภาวนา+ธมฺม.
  9. เสรีภาพ : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีอิสระ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีเสรี, ความเป็นผู้มีเสรี, ความมีเสรี.
  10. อาปณิก : (ปุ.) บุคคลผู้อยู่ในร้านเป็นที่มาแผ่, คนผู้เป็นเจ้าของแห่งร้านตลาด, คนผู้ซื้อและขาย, พ่อค้า.ส. อาปณิก.
  11. คีตรว, - สทฺท, - สร : ป. เสียงขับร้อง, เสียงเพลง
  12. สรตุณฺฑ : นป. ปลายลูกศร
  13. สรทกาล : (ปุ.) การเป็นที่สะครั่นสะครอ, สมัยเป็นที่ยินดีแห่งสุนัข.
  14. ชลาธาร : (ปุ.) บ่อ, สร, ทะเลสาบ. ส. ชลาธาร.
  15. สิริ : (อิต.) กระแสน้ำ. สรฺ คติยํ, อิ. ส. สริ น้ำตก.
  16. สุร : (วิ.) เป็นใหญ่, กล้า, กล้าหาญ, เข้มแข็ง, รุ่งเรือง, ส่องสว่าง. สุรฺ อิสฺสริยทิตฺตีสุ, อ.
  17. อิสฺสรภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งชนผู้เป็นใหญ่, ความเป็นแห่งความเป็นใหญ่, ความเป็น ใหญ่, อิสสรภาพ อิสรภาพ (ความเป็น ใหญ่ในตัวเอง ความไม่ขึ้นแก่ใคร).
  18. ธมฺมสามิสฺสร ธมฺมสฺสามิสฺสร : (วิ.) ผู้เป็น ใหญ่ด้วยความเป็นเจ้าของแห่งธรรม.
  19. ปทุมสร : ป., นป. สระดอกบัว
  20. ปริสร : ป., นป. บ้านใกล้เรือนเคียง, ดินแดนติดต่อกัน
  21. พินฺทุสฺสร : ๑. ป. เสียงกลมกล่อม, เสียงไพเราะ ; ๒. ค. มีเสียงกลมกล่อม, มีเสียงไพเราะ
  22. สิร : (วิ.) เลิศ, ประเสริฐ, ประเสริฐสุด.
  23. สิริ, (สิรี) : อิต. ศรี, โชค
  24. สิรี : (อิต.) ความเจริญ, ฯลฯ, สมบัติ, ศรี. วิ. กตปุญฺเญหิ เสวตีติ วา สิรี. สิ เสวายํ นิสฺสเย วา, โร, อี จ. อภิฯและฎีกาอภิฯ. ส. ศฺรี.
  25. สีร : (ปุ.) ไถ. สี พนฺธเน, โร. ส. สีร.
  26. สูร : ๑. ค .กล้าหาญ; ๒. ป. พระอาทิตย์
  27. สูริ สูรี : (วิ.) มีปัญญากล้า.
  28. อติสร : ค. มีความทุกข์ยิ่ง ; แล่นเลยไป
  29. อติอิสฺสร : ค. มีอำนาจยิ่ง
  30. อภิสร : ป. บริษัท, บริวาร
  31. อิสร อิสฺสร : (วิ.) เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็น จอม. วิ. อีสนํ สามิภวนํ อิสโร อิสฺสโร วา. ส. อีศวร.
  32. อิสฺสร : ป. ผู้เป็นเจ้า, พระอิศวร, พระเจ้าแผ่นดิน, เจ้านายเหนือหัว
  33. อิสฺสรชน : ป. อิสรชน, ผู้เป็นไทย, ผู้มีอำนาจ
  34. สรภญฺญ : (นปุ.) ความเป็นคืออันกล่าวด้วยเสียง, ธรรมอันบุคคลพึงกล่าวด้วยเสียง, สรภัญญะ ชื่อทำนองสำหรับสวดคำที่เป็นฉันท์ ชื่อทำนองสำหรับสวดคำที่เป็นฉันท์ ชื่อทำนองสวดอย่างหนึ่ง. สร+ภณ+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. หรือ สร+ภณฺ+ณฺย ปัจ. นามกิตก์.
  35. สุปฺป : (นปุ.) กระด้ง ชื่อภาชนะสานด้วยตอกไม้ไผ่ที่เอาผิวไว้ ตอกเส้นใหญ่และหนาหน่อย เป็นภาชนะแบนกลมใหญ่ มีขอบหนากลมใหญ่มือจับได้สบาย สำหรับฝัดข้าวโบกลม วิ. สุปนฺติ เอตฺถิ สุนขาทโยติ สุปฺปํ. สุปฺ สยเน, โป. สุปฺปฺ หนเน วา, อา. สรติ อเนนาติ วา สุปฺปํ. สร. คติยํ, โป, ทฺวิตฺตํ, รฺโลโป, อสฺสุ. สุปฺ มาเนวา, โป. ส. สูรฺป, สูรฺปฺป.
  36. กิโสร : (ปุ.) ลูกม้า วิ. กสตีติ กิโสโร. กสฺ คมเน, โอโร, อสฺสิ. กิญฺจิ สรตีติ กิโสโร. กึปุพฺโพ, สรฺ จินฺตายํ, อ, พินฺทุโลโป, อสฺ โส (ลบนิคคหิต แปลง อ ที่ ส เป็น โอ).
  37. ฆนสาร : (ปุ.) การบูร วิ. ฆโน หุตฺวา สรตีติ ฆนสาโร.
  38. ธเนสฺส ธเนสฺสร : (ปุ.) คนผู้เป็นเจ้าของแห่งทรัพย์, คนมั่งมี, คนมั่งคั่ง, คนรวย, ท้าวกุเวร. ธน+อีส, ธน+อิสฺสร.
  39. นิชฺฌร : (ปุ.) การไหลไปแห่งน้ำ, ลำธาร, แม่น้ำ, น้ำตก. วิ. นิสฺสรณํ นิชฺฌโร. นิปุพฺโพ, สรฺ คติยํ, อ. แปลง ส เป็น ช แล้ว แปลง ช เป็น ชฺฌ ปพฺพตปาสาณาทีสุ อมฺพุโน ปสโว นิชฺฌโร นาม. เป็นนิฌร ก็มี. ส. นิรฺฌร.
  40. ปภสฺสร : (วิ.) อันเป็นแดนซ่านออกแห่งรัศมี วิ. ปภา สรติ เอตสฺมาติ ปภสฺสโร. ปภาปุพฺโพ, สรฺ อกฺเขเป, อ. มีรัศมีเป็น แดนซ่านออก วิ. ปภสฺสโร อสฺส อตฺถีติ ปภสฺสโร. ณ ปัจ. ตทัตสัตถิตัท. ผ่อง, ผุดผ่อง, ผ่องใส, เลื่อมๆ พรายๆ ( สี... ), พราวๆ (แสง... ), สุกปลั่ง ( ของ... ). ปปุพฺโพ, ภา ทิตฺติยํ, สโร, รสฺโส, สฺสํโย- โค. ภสฺ ภาสทิตฺติยํ วา, อโร. อถวา, ปภา- ปุพฺโพ, สุ ปคฺฆรเณ, อโร.
  41. สพฺพ : (วิ.) ทั้งปวง, ทั้งมวล, ทั้งหมด, ทั้งสิ้น, ทั้งผอง, ทั้งเพ, ทุก, ทุกๆ, ทุกเมื่อ, ทุกอย่าง, สารพัด, สารพัน. วิ. สรติ ปวตฺตตีติ สพฺพํ. สรฺ คติยํ, โพ, รสฺส โพ. สพฺพติ ปวตฺตตีติ วา สพฺพํ. สพฺพฺ คติยํ, อ. ส. สรฺพ สรฺพฺพ สรฺว สรฺวฺว สรฺพ สรฺพฺพ.
  42. สมฺมาสติ : (อิต.) ธรรมเป็นเครื่องระลึกชอบ. วิ, สมฺมา สรนฺติ เอเตนาติ สมฺมาสติ. สมฺมาปุพฺโพ, สรฺ จินฺตายํ, ติ, รฺโลโป. ความระลึกชอบ. วิ. สมฺมา สติ สมฺมาสติ. วิเสสนบุพ. กัม.
  43. สโมสร สโมสรณ : (นปุ.) การมารวมกัน, การมาร่วมกัน, การมาพร้อมกัน, การประชุมกัน, สโมสร(ที่สำหรับประชุมกัน ที่สำหรับประชุมคบค้ากัน). สํ อา ปุพฺโพ, สรฺ คติยํ, อ. ยุ. แปลง อา เป็น โอ.
  44. สรก : (ปุ.) ขัน, จอก, กระบวย. วิ. สรฺติ อุทก เมตฺถาติ สรโก. สรฺ คติจินฺตาหึสาสุ, ณวุ.
  45. สรฎ : (ปุ.) กิ้งก่า. วิ. สรติ ธาวตีติ สรโฎ. สรฺ คติยํ, อโฎ. ส. สรฎ.
  46. สรณ : (นปุ.) สรณะชื่อของพระนิพพาน, พระนิพพาน. วิ. เยน จตฺตาโร มคฺคา โอธิโส กิเลเส สรนฺติ ตํ ธมฺมํ สรณํ. อริยานํ วสิตเคหตฺตา วา สรณํ. สรฺ หึสายํ, ยุ.
  47. สรพู : (อิต.) จิ้งจก, ตุ๊กแก, ตุ๊ดตู่. วิ. สรติ คจฺฉตีติ สรพู. สรฺ คติยํ, อู, อพนฺโต (ลง อพ ที่สุดธาตุ).
  48. สรภู : (อิต.) สรภู ชื่อแม่น้ำสายใหญ่สายที่ ๔ ใน ๕ สาย, แม่น้ำสรภู. วิ. สรานิ ภวนฺติ ยาย อธิภูตายาติ สรภู. สรตีติ วา สรภู. สรฺ คติยํ, อภู.
  49. สรล : (ปุ.) สน, มะสัง. วิ. สรติ กาลนฺตรนฺติ สรโล. สรฺ จินตายํ, อโล.
  50. สรสี : (อิต.) สระ, บึง. สรฺ คติยํ, อโส, อิตฺถิยํ อี. ส. สรสี.
  51. [1-50] | 51-74

(0.0628 sec)