ทินปติ : ป. เจ้าแห่งตะวัน, ตะวัน, พระอาทิตย์
รวิ : ป. พระอาทิตย์, ตะวัน
อาทิจฺจ : (ปุ.) ดวงอาทิตย์, พระอาทิตย์, ตะวัน, ดวงตะวัน.วิ. อาภุโสทิปฺปตีติอาทิจฺโจอาปุพฺโพ, ทิปฺทิตฺติยํ, โณฺย.แปลงปฺเป็นจฺลบณิรวมเป็นจฺยแปลงจฺยเป็นจฺจฏีกาอภิฯอาบทหน้าทิปฺธาตุอปัจ.ลงยปัจ.ประจำธาตุเป็นจฺจอทิติยาปุตฺโตอาทิจฺโจ.อทิติยาอปจฺจํอาทิจฺโจ.ยปัจ.โคตตตัท.ทีฆะต้นศัพท์ ลบอิที่ติเป็นตฺยแปลงตฺยเป็นจฺจรูปฯ ๓๕๔.สยํปภายนฏฺฐายอาทิกปฺปิเกหิอิจฺโจอุปคนฺ-ตพฺโพติอาทิจฺโจอาทิกปฺปิกปุพฺโพ, อิคติยํ, ริจฺโจ, กปฺปิกโลโป.ลงจฺจหรืออจฺจปัจ.แทนริจฺจ ก็ได้.ส. อาทิตฺย.
ฉพฺพณฺณรสิ : (อิต.) รัศมีมีสีหก. ฉัพพัณณรังษี. รัศมี ๖ ประการนี้ คือ เขียวเหมือนดอก – อัญชัน เรียกนีละ ๑ เหลืองเหมือน หอ – ระดาล เรียก ปีตะ ๑ แดงเหมือน ตะวัน อ่อน เรียก โลหิตะ ๑ ขาวเหมือนแผ่นเงิน เรียก โอทาตะ ๑ สีหงสบาทเหมือนดอก เซ่งหรือดอกหงอนไก่ เรียกมัญเชฏฐะ ๑ เลื่อมพรายเหมือนแก้วผนึก เรียก ปภัสสร รัศมีทั้ง ๖ นี้ แผ่เป็นวงกลมอยู่ เบื้องหลังพระเศียรของพระพุทธเจ้า. พระ พระอรหันต์ทั้งหลาย แม้พระอัครสาวก ก็ ไม่มีรัศมีทั้ง ๖ นี้.
อตฺถงฺคต : (วิ.) ถึงแล้วซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ตกดิน(พระอาทิตย์ตกดิน).
กุมุท : (ปุ.) กุมุทะ ชื่อช้างประจำทิศตะวันตก เฉียงใต้ วิ. กยํ ปฐวิยํ โมทตีติ กุมุโท. กุปุพฺโพ, มุท. หาเส, อ. อถิฯ ลง ณ ปัจ. ส. กุมุท.
คนฺธพฺพาธิป : (ปุ.) คันธัพพาธิปะ ชื่อผู้เป็น ใหญ่ในคนธรรพ์ ชื่อท้าวโลกบาลทิศ ตะวันออก, ท้าวธตรฐ. วิ. ปญฺจสิขาทีนํ คนฺธพฺพานํ อธิโป นายโก คนฺธพฺพาธิโป.
ทินกร : ป. ตะวัน, พระอาทิตย์
ทินกร ทินปติ ทินมณิ : (ปุ.) ตะวัน, ดวง ตะวัน, ดวงอาทิตย์, พระอาทิตย์. วิ. ทินํ กโรตีติ ทินกโร. ทิน+กรฺ+อ ปัจ. ทินานํ ปติ ทินปติ. ทิเน มณิ ทินมณิ (ส่องสว่างในกลางวัน). ส. ทินมณิ.
ทิวสกร : (ปุ.) ตะวัน, ดวงตะวัน, พระอาทิตย์. ส. ทิวากร.
ทิวากร : (ปุ.) ตะวัน, ฯลฯ. วิ. ทิวา ทิวสํ กโรตีติ ทิวากโร. อ ปัจ.
ทุวงฺคุลกปฺป : ป. การถือว่าสองนิ้วควรได้แก่การกำหนดเวลาอาหารยืดออกไปจนถึงตะวันบ่ายเงายาวสองนิ้ว
ธตรฏฺฐ : (ปุ.) ธตรฐ, ธตรษฐ์ ท้าว ธตรษฐ์ ชื่อท้าวโลกบาลประจำทิศตะวันออก ซึ่ง เป็นอธิบดีแห่งคนธรรพ์ วิ. ธาริดตํ รฏฺฐ มเนนาติ ธตรฏฺโฐ.
นาคาธิปติ : (ปุ.) นาคาธิบดี ชื่อเทพผู้เป็น อธิบดีแห่งนาคเป็นใหญ่และรักษาทิศ ตะวันตก คือท้าววิรูปักษ์.
ปฏิยาโลก : อ. ย้อนแสง, สู่ทิศตะวันตก
ปตีจิ, - จี : อิต. ทิศตะวันตก
ปาจีน : นป. ทิศตะวันออก
ปาจีนก : ค. อันมีในทิศตะวันออก
ปุพฺพ : (อิต.) ทิศตะวันออก, ทิศบูรพา.
ปุพฺพโกฏฺฐก : ป. ซุ้มประตูด้านทิศตะวันออก
ปุพฺพทกฺขิณ : (ปุ. นปุ.) ทิศตะวันออกเฉียงใต้, ทิศอาคเณย์.
ปุพฺพา : อิต. ทิศตะวันออก
ปุพฺพุตฺตรา : (อิต.) ทิศตะวันออก เฉียงเหนือ, ทิศอีสาน.
ปุรตฺถา : (อิต.) ทิศตะวันออก, ทิศบูรพา. ปุรปุพฺโพ, ภา คตินิวุตฺติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา. อภิฯ จัดเป็น อัพ.นิบาต ลงในอรรถทิศตะวันออก.
ปุรตฺถาภิมุข : ค. บ่ายหน้าไปทางทิศตะวันออก
ปุรตฺถิม : (วิ.) มีในเบื้องหน้า, มีในทิศตะวันออก.
ปุรตฺถิมทิสา : (อิต.) ทิศอันตั้งอยู่ในเบื้องหน้า. ทิศตะวันออก.
ปุรตฺถิมทิสาภาค : (ปุ.) ฝั่งแห่งทิศอันตั้งอยู่เบื้องหน้า, ฝั่งทิศตะวันออก.
ปุรตฺถิมา : (อิต.) ทิศตะวันออก
ปุรตฺถิมาอนุทิสา : (อิต.) ทิศตะวันออกเฉียงใต้.
ปุริมทิสา : (อิต.) ทิศมีในเบื้องหน้า, ทิศตะวันออก, ปุริมทิศ, บุริมทิศ, ทิศบูรพา.
สหสฺสรสิ : (ปุ.) ตะวัน, ดวงตะวัน, ดวงอาทิตย์. วิ. สหฺสฺสสํ พหโว รํสโย ยสฺส โส สหสฺสรํสิ. ส. สหสฺรา ศุ.
หรติ : (อิต.) ทิศตะวันออกเฉียงใต้, ทิศหรดี. ส. ไนรฺฤต.
อคฺคิโกณ อคฺคินิโกณ : (ปุ.) ทิศตะวันออก.
อปรทกฺขิณา : (อิต.) ทิศตะวันออกเฉียงใต้.
อปรนฺต : ป. ที่สุด, ปลายแดน, อนาคต, ชื่อประเทศในอินเดียตะวันตก
อปรา : (อิต.) ทิศตะวันออก.
อปาจีน : ค. ทางทิศตะวันตก, ข้างใต้, ข้างล่าง
อมรโคยาน, อปรโคยาน : ป. อมรโคยานทวีป (ทวีปตะวันตก)
อวรปุร : นป. ทิศตะวันตกของเมือง
อาคเณยฺย : (ปุ.) ทิศตะวันออกเฉียงใต้.ส. อาคฺเนย.
อุทฺทิย : ค. ทางทิศเหนือ, ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ