ตณฺหา : (อิต.) ความกระหาย, ความระหาย, ความอยาก, ความอยากได้, ความทะยาน (ดิ้นรน), ความทะยานอยาก (อยากได้ อยากมี อยากเป็น), ความกำหนัด (ความใครในกามคุณ), ความว่องไว (ใน อารมณ์), ความสน (นิ่งอยู่ไม่ได้), ความดิ้นรน, ความปรารถนา (ในกาม), ความเสน่หา (ติดพัน), ความแส่หา (ดิ้นรน), โลภ ความโลภ (อยากใคร่ในอารมณ์), ดำฤษณา, ตฤษณา. วิ. ตสนํ ตณฺหา. ยาย วา ตสนฺติ สา ตณฺหา ตสฺ ปิปาสายํ, ณฺห, สโลโป. ตสติ ปาตุ มิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ตสติ ปาปํ อิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ห ปัจ แปลง ณ. ส. ตฤษณา
เอชา : (อิต.) เอชา ชื่อของตัณหา, ตัณหา, เอชา วุจฺจติ ตณฺหา. ความปรารถนาจัด, ความอยากได้จัด, ความปรารถนา. ความอยากได้, ความแสวงหา, ความหวั่นไหว. วิ เอชตีติ เอชา. เอชฺ กมฺปเน, อ. เอชนํ วา เอชา.
ตณหา : (อิต.) นางตัณหา ชื่อธิดามาร ๑ ใน ๓ คน วิ. โย ตํ ปสฺสติ ตํ ตสิตํ กโรตีติ ตณฺหา. ตสฺ นิปาสายํ ณฺห สโลโป, อิตฺถิยํ อา.
ฉนฺท : (ปุ.) สภาพผู้อาศัยจิตนอนอยู่, ความตั้ง ใจ, ความพอใจ, ความชอบใจ, ความปรา- รถนา, ความต้องการ, ความอยาก, ความอยากได้, ความมุ่งหมาย, ความยินดี, ความรัก, ความรักใคร่, ความสมัคร, ความสมัครใจ, ความเต็มใจ, ความอยู่ในอำนาจ, อัธยาศัย, ตัณหา, พระเวท. ฉนฺทฺ อิจฺฉายํ, อ. ส. ฉนฺท. ฉนฺท ฉันท์ ชื่อคำประพันธ์อย่าง ๑ มีหลาย ชื่อ มีหลักการวางคำ ครุ ลหุ และจำนวน คำแต่ละบาทต่างๆ กัน วิ. วชฺชํ ฉาทยตีติ ฉนฺทํ. ฉทฺ สํวรเณ, อ, นิคฺคหิตาคโม. ส. ฉนฺทสฺ.
วาน : นป. เครื่องร้อยรัด, ตัณหา
อภิชฺฌา : (อิต.) อภิชฌาชื่อของตัณหา, ตัณหา, ความเพ่งเล็ง, ความโลภ, ความอยากได้, ความทะเยอทะยาน, ความกระวนกระวาย, ความปรารถนาอย่างแรงกล้า, ความเพ่งเฉพาะ, ความปรารถนา.วิ.ปรสมฺปตฺตีอภมุขํกตฺวาฌายตีติอภิชฺฌา.ส. อภิขฺยา.
อภิลาส : (ปุ.) อภิลาสะชื่อของตัณหา, ตัณหา, ความโลภยิ่ง, ความปรารถนา, ความยินดี, ความเพลิดเพลิน.อภิปุพฺโพ, ลสฺกนฺติยํ, โณ.ส.อภิลาษ.อภิลาส.
อิจฺฉา : (อิต.) อิจฉา ชื่อของตัณหา, ตัณหา, ความปรารถนา, ฯลฯ. วิ. เอสนํ อิจฺฉา. รูปฯ ๕๘๓. ไทยใช้ อิจฉา เป็นกิริยาใน ความว่า ริษยา. ส. อิจฉา.
เอฏฐิ : อิต. ความอยาก, ตัณหา, การแสวงหา
อาสา : (อิต.) ชื่อของตัณหา, ตัณหา. อาสา วุจฺจติ ตณฺหา. ไตร ๒๙/๑๑๘. ความหวัง, ความปรารถนา. อิสุ อิจฺฉายํ, อ, อิสฺสา (แปลง อิ เป็นอา). ส. อาศา
ชฎา : (อิต.) ความอยาก, ความปรารถนา, กิเลส, ตัณหา. วิ. เตสุ อารมฺมเณสุ อากุ- ลีภูตตฺตา ชฎา วิยาติ ชฏา.
ชาลินี : (อิต.) ตัณหา. ตัณหามีข่าย, ตัณหาเพียง ดังข่าย. วิ. สํสารโต นิสฺสริตํ อปฺปทาน- วเสน ชาลสทิสตฺตา ชาลินี. ชาลศัพท์ อินี ปัจ ลงใน อุปมา.
ตณฺหงฺกร : (วิ.) ผู้เบียดเบียนตัณหา, ผู้กำจัด ตัณหา. วิ. ตณฺหํ กิโณตีติ ตณฺหงฺกโร. ตณฺหาปุพฺโพ, กิ หึสายํ, อ. แปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย แปลง ย เป็น ร รัสสะ อา ที่หาเป็น อ ลง นุ อาคมแปลงเป็น นิคคหิต แล้วแปลงเป็น งฺ รูปฯ ๕๕0 กัจฯ ๕๒๕ วิ. ตณฺหํ กโรตีติ ตณฺหงฺกโร กรฺ หึสายํ.
ตสิตา : (อิต.) ตัณหาผู้ทำความสะดุ้ง, ตัณหา. ตสฺ อุพฺเพเค, โต, อิอาคโม, อิตฺถิยํ อา.
โทหฬ : (ปุ.) ฉันทะนี้แห่งบุคคลผู้มีหทัยสอง, ฉันทะอันเป็นการทำแห่งบุคคลผู้มีหทัย สอง, ความปรารถนาของหญิงตั้งครรภ์, การอยาก, การแพ้ท้อง, ความอยาก, ความปรารถนา, ตัณหา. โทหปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อ, ลสฺส ฬตฺตํ ทฺวิปุพฺโพ วา, หลฺ กมฺปเน, อ, ทฺวิสฺสโท, ลสฺส โฬ. ทุฏฐ หทย เมเตนาติ วา โทหโฬ. ทุฏฐสฺส โท, ทหยสฺสหโฬ เทฺว หทยา อสฺส ปรมตฺถสฺสาติ วา โทหโฬ. ทวิสฺส โท, หทยสฺส หโฬ. หรือแปลง ทฺวิ เป็น โท แปลง ท เป็น ฬ ลบ ย. ทุธา หทยํ เอตีติ โทหโฬ. ฎีกาอภิฯ วิ. โทหํ ลาตีติ โทหโฬ. ส. โทหล.
นิกนฺติ : (อิต.) ความอยาก, ความอยากได้, ความโลภ, ความปรารถนา, ความชอบใจ, ความรัก, ความยินดี, ความใคร่, ตัณหา. กมุ อิจฺฉายํ, ติ. แปลง ติ เป็น นฺติ ลบที่สุด ธาตุ.
ปปญฺจธมฺม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ เนิ่นช้า. ปปัญจธรรม ได้แก่ ตัณหา มานะ และทิฎฐิ ( ความเห็นผิด ) เพราะทำ สังสารวัฎให้ยืดยาว.
ปปญฺจา : (อิต.) ความเนิ่นช้า, ฯลฯ, ปปัญจา ชื่อของตัณหา, ตัณหา.
พาน : (นปุ.) เครื่องร้อยรัด, ตัณหา. ดู วาน.
มโนรถ : (ปุ.) ความประสงค์ดุจรถแห่งใจ, ความปรารถนาเป็นที่ยินดีแห่งใจ, ความปรารถนาแห่งใจ, ฉันทะเป็นที่ยินดีแห่งใจ, ความหวัง, ความประสงค์, ความใฝ่ฝัน, ความอยาก, ความปรารถนา, ตัณหา. วิ. จิตฺตสฺส นานารมฺมเณสุ วิพฺภมกรณโต มนโส รโถ อิว มโนรโถ. รหียตีติ รโถ. รหฺ อุปาทาเน, โถ. ลบ หฺ. มโน เอว รโถ วิยาติ วา มโนรโถ.
วิสตฺติกา : อิต. ความอยาก (ตัณหา)
สนฺถว : (ปุ.) ความคุ้นเคย, ความสนิท, ความสนิทสนม, การรู้จัก, การรู้จักกัน, การชม, การชมเชย, การเชยชม, ความชม, ฯลฯ, ตัณหา. สํปพฺโพ, ถุ อภิตฺถเว, โณ, ยุ.
สนฺถวน : (นปุ.) ความคุ้นเคย, ความสนิท, ความสนิทสนม, การรู้จัก, การรู้จักกัน, การชม, การชมเชย, การเชยชม, ความชม, ฯลฯ, ตัณหา. สํปพฺโพ, ถุ อภิตฺถเว, โณ, ยุ.
สาราค : (ปุ.) ความกำหนัดหนัก, ความกำหนัดหนักแล้ว (แล้วเป็นคำเหน็บเข้ามา), ตัณหา. สํ+ราค ลบนิคคหิตแล้วฑีฆะ.
สิพฺพนี สิพฺพินี : (อิต.) ธรรมชาติอันร้อยรัด, ธรรมชาติอันรัดรึง (ผูกแน่น), ธรรมชาติเครื่องร้อยรัด, ฯลฯ, ตัณหาเครื่องร้อยรัด, ฯลฯ, ธรรมชาตผูกเย็บ (ผูก) ภพเป็นต้น ไว้ด้วยภพเป็นต้น, ตัณหา. วิ. ภวาทีหิ ภวาทโย สิพฺพตีติ สิพฺพนี สิพฺพินี วา. อี อินี อิต.
อากขาอากงฺขา : (อิต.) ความจำนง, ความปรารถนา, ความหวัง, อากังขาชื่อของตัณหา, ตัณหา. อาปุพฺโพ, กํขฺอิจฺฉายํ, อ.ส.อากางฺกฺษา.
กามตณฺหา : (อิต.) ความกำหนัดแห่งจิตอัน สหรคตด้วยกามธาตุ ความอยากในความใคร่, ฯลฯ, ความพอใจในกามทั้ง ๕, ตัณหาคือกาม.
ขีณพีช : ค. ผู้มีพืชคือตัณหาสิ้นแล้ว
ฉทฺวาริกตณฺหา : (อิต.) ตัณหาอันเป็นไปใน ทวารหก.
ชาลตณฺหา : อิต. ข่ายคือตัณหา, อำนาจความอยาก, ความดิ้นรน
ตณฺหกฺขย : (ปุ.) ความสิ้นแห่งตัณหา ( หาย อยาก ) ความสิ้นไปแห่งตัณหา, ธรรม เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา, ตัณหักขยะ ชื่อ ของพระนิพพาน, พระนิพพาน.
ตณฺหากาย : ป. หมวดหรือหมู่แห่งตัณหา
ตณฺหาคต : ค. อันตกอยู่ในอำนาจตัณหา, อันตัณหาครอบงำแล้ว
ตณฺหาคทฺทุล : ป. เครื่องผูกคือตัณหา
ตณฺหาจฺฉิท : ป. การทำลายตัณหา
ตณฺหาชาล : นป. บ่วงคือตัณหา, ข่ายคือตัณหา
ตณฺหาทาส : ค. อันเป็นทาสของตัณหา
ตณฺหาทุติย : (วิ.) มีตัณหาเป็นที่สอง, มีตัณหา เป็นเพื่อน.
ตณฺหาธินิเวส : ค. อันเต็มด้วยตัณหา
ตณฺหาธิปเตยฺย : ค. เป็นใหญ่เหนือตัณหา
ตณฺหาธิปนฺน : ค. อันตัณหายึดไว้แล้ว
ตณฺหานที : อิต. แม่น้ำคือตัณหา
ตณฺหานิฆาตน : นป. การฆ่าหรือทำลายตัณหา
ตณฺหาปกฺข : ป. พวกหรือฝ่ายแห่งตัณหา
ตณฺหาปจฺจย : ต. มีตัณหาเป็นปัจจัย, มีตัณหาเป็นเหตุ
ตณฺหามานทิฏฺฐิอิญฺชิต : (วิ.) (กิเลสชาต กิเลส ชาติ) อันบุคคลให้หวั่นไหวคือตัณหาและ มานะ และทิฏฐิ.
ตณฺหามูลก : ค. เป็นรากเง่าแห่งตัณหา
ตณฺหาลุก : ค. ผู้โลภหรืออยากได้ด้วยตัณหา
ตณฺหาเลป : ป. ความเคลือบคลุมแห่งตัณหา
ตณฺหาวตฺถุก : (วิ.) เป็นที่ตั้งแห่งตัณหา.