Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตั้งใจจริง, ตั้งใจ, จริง , then จรง, จริง, ตั้งใจ, ตั้งใจจริง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตั้งใจจริง, 161 found, display 1-50
  1. เอกายน : (วิ.) อันเป็นไปที่ไปอันเยี่ยม, อันเป็น เครื่องดำเนินอันเยี่ยม, อันเป็นที่ไปอันยอด เยี่ยม, อันเป็นที่ไปอันประเสริฐ. ส. เอกายน ตั้งใจจริง มีใจเพ่งเฉพาะ.
  2. มาน : (ปุ.) การถือตัว, ความถือตัว, ความหยิ่ง, ความเย่อหยิ่ง, ความจองหอง, ความไว้ตัว, ความไว้ยศ, ความแข็ง, ความพยายาม, ความกล้า, ความตั้งใจจริง, ความสำคัญใจ, ใจ, ดวงใจ, จิตใจ. มนฺ ญาเณ, โณ. มาน ปูชายํ, อ.
  3. อภินีหาร : ป. ๑. การนำออก; ๒. ความปรารถนาที่ตั้งใจจริง
  4. จิกิจฺฉติ : ก. คิด, ใคร่ครวญ, พิจารณา, ตั้งใจ, มุ่งหมาย; เยียวยา, รักษา
  5. จินฺติต : ๑. (อันเขา) คิดแล้ว, ดำริแล้ว, สร้างแล้ว ๒. นป. การคิด, ดำริ, ตรึก, ตั้งใจ
  6. เจจฺจ : อ. แกล้ง, จงใจ, ตั้งใจ
  7. เจตยติ : ก. จงใจ, ตั้งใจ, มุ่งหมาย, คิด
  8. นิสาเมติ : ก. ใคร่ครวญ, พิจารณา, ตั้งใจ
  9. ปริจินาติ : ก. ประพฤติรอบคอบ, สะสม, ตั้งใจ, เคยชิน
  10. ปหิต : ค. อันถูกส่งไปแล้ว; ตกลงใจ, ตั้งใจ, ซึ่งมีพลัง, มีกำลัง
  11. ภูต : (วิ.) ล่วงไปแล้ว, มีอยู่, เป็นอยู่, เสมอกัน, เท่ากัน, จริง, แท้.
  12. ยถตฺต ยถาตฺต : (อัพ. นิบาต) แท้, จริง, แท้จริง, ไม่กลับกลอก, โดยอันมีแท้.
  13. ยถาตถ : (อัพ. นิบาต) อย่างใดอย่างนั้น, อย่างไรอย่างนั้น, ตามจริง, จริง, แท้.
  14. ยาถาว : ค. แน่นอน, แน่แท้, จริง
  15. วฺยาวฏ : ค. มีธุระมาก, ว่องไว, ตั้งใจ, ขวนขวาย
  16. อธิฏฺฐหติ : ก. ตั้งมั่น, อธิษฐาน, ตั้งใจ
  17. อธิฏฺฐาติ : ก. ตั้งมั่น, อธิษฐาน, ตั้งใจ
  18. อภิสญฺเจเตติ : ก. คิดมุ่งหมาย, ตั้งใจ
  19. อวิปฺปวาส : ๑. ป. การไม่อยู่ปราศจาก, ความตั้งใจ ; ๒. ค. ซึ่งไม่ทอดทิ้ง, ตั้งใจ, กระตือรือร้น
  20. โอทหติ : ก. ตั้งลง, วางลง, เติม, นำมา, เพิ่ม, ตั้งใจ
  21. อฏฺฐิต : ค. ๑. ไม่ตั้งมั่น ( น+ฐา+ต ) ; ๒. เข้าถึง, ตั้งใจ ( อา+ฐา+ต )
  22. เจต : (วิ.) คิด, รู้, จงใจ, ตั้งใจ. จิตฺ สํเจตเน, โณ.
  23. เจตนา : (อิต.) ธรรมชาติผู้คิด, ความคิด, ความคิดอ่าน, ความนึก, ความตริ, ความดำริ, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ. วิ. จินฺตนา เจตนา. เจตยตีติ วา เจตนา. จิตฺ สํเจตเน, ยุ. ไทยใช้ เจตนาเป็นกิริยา ในความหมาย ว่า จงใจ ตั้งใจ มุ่งหมาย ส. เจตนา.
  24. ปทกฺขิณ : (วิ.) ดี, เจริญ, รุ่งเรือง, สุจริต, ( ตรง ซื่อ ซื่อตรง ไม่เอนเอียง จริง).
  25. สจฺจ : ๑. นป. ความจริง; ๒. ค. จริง
  26. สมาทหติ : ก. ตั้งใจ
  27. กฏุมิกา : อิต. ความไม่จริง, ความไม่แท้
  28. กมฺมสจฺจ : ค. ซึ่งมีความเที่ยงตรงต่อกรรม, มีกรรมเป็นความจริง
  29. กิราส : ค. เท็จ, โกง, ไม่จริง
  30. กุสลเจตนา : อิต. กุศลเจตนา, เจตนาที่เป็นกุศล, ความตั้งใจดี
  31. ขยานุปสฺสนา : อิต. ความรู้แจ้งเห็นจริงในความเสื่อม
  32. จตุปริวฏฏ : อ. โดยเวียนรอบสี่, (รู้เบญจขันธ์ตามความเป็นจริง) เป็นสี่ขั้น
  33. จตุราริยสจฺจ : (นปุ.) ของจริงอันประเสริฐสี่, ความจริงอันประเสริฐสี่ประการ. จตุ+ อริยสจฺจ รฺ อาคม.
  34. จิตฺตาโภค : (ปุ.) ความคำนึงแห่งจิต, ความหวน คิดแห่งจิต, ความตั้งใจ. จิตฺต+อาโภค.
  35. เจตนก : ค. ซึ่งเนื่องด้วยเจตนา, มีความคิด, มีความตั้งใจ
  36. เจตยิต : กิต. (อันเขา) จงใจแล้ว, ตั้งใจแล้ว, มุ่งหมายแล้ว
  37. เจตา : (อิต.) ความคิด, ความรู้, ความจงใจ, ความตั้งใจ.
  38. เจโตปณิธิ : ป. ความตั้งใจแน่วแน่, ความปักใจ, การตั้งจิตปรารถนา
  39. ฉนฺทน : (ปุ.) ความตั้งใจ, ฯลฯ. ฉนฺทฺ อิจฺฉายํ, ยุ.
  40. ฉนฺทสมฺปทา : อิต. ความถึงพร้อมด้วยความพอใจ, ความตั้งใจแน่วแน่
  41. ชีวิตสีสี ชีวิตสทสีสี : (วิ.) ผู้มีกิเลสศรีษะสิ้น พร้อมด้วยชีวิต, ผู้มีกิเลสอันเป็นประธาน สิ้นไปพร้อมกับการสิ้นชีวิต, ผู้สิ้นกิเลส อันเป็นประธานพร้อมกับสิ้นชีวิต. กิเลส ที่เป็นประธานคืออวิชา. คำว่าสิ้นกิเลส พร้อมกับสิ้นชีวิตนั้นมิได้หมายความว่า เกิดพร้อมกันในวิถีจิตเดียวกัน อรหัตต – มัคคจิตเกิดประหาณ อวิชชาแล้ว ชีวิติน- ทรีย์ เจตสิกละรูปจึงดับ แม้ว่าจะห่างกัน หลายวิถีจิตก็จริง แต่เมื่อว่าโดยเวลาแล้ว ความดับกิเลสและสิ้นชีวิตก็กล่าวได้ว่าดับ ลงพร้อมกัน เพราะวิถีจิตเป็นไปเร็วมาก.
  42. ฐานีย : ๑. นป. พระนคร, เมืองหลวง; ๒. ค. อันควรแก่การตั้งใจ, อันควรแก่ตำแหน่ง
  43. ฐาปก : ค. ผู้ตั้งใจ, ผู้วางไว้, ผู้เก็บไว้หรือผู้รักษา
  44. ตจฺฉ : (วิ.) จริง, แท้.
  45. ตตฺว : นป. ความจริง, ความแท้
  46. ตถ : (วิ.) จริง, แท้, เที่ยง, ตรง, ถูกต้อง.
  47. ตถตา : อิต. ความเป็นจริง, ความเป็นแท้, ความเป็นเช่นนั้น, ความเป็นเหมือนอย่างนั้น
  48. ตถน : (นปุ.) ความจริง, ความแท้, คำจริง, คำแท้, ฯลฯ.
  49. ตถปรกฺกม : ป. การก้าวเข้าไปสู่ความเป็นจริง
  50. ตถภาว : (ปุ.) ความที่แห่งสัจจธรรมนั้นเป็น ธรรมแท้, ความเป็นแห่งธรรมแท้, ความจริง, ความแท้.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-161

(0.0671 sec)