นวโลห : (ปุ. นปุ.) โลหะเก้า,โลหะเก้าอย่าง,โลหะเก้าชนิด.โลหะเก้าประการ,โลหะเก้าคือเหล็ก,ปรอท,ทองแดง,เงิน,ทองคำ,เจ้าน้ำเงิน(แร่ชนิดหนึ่งสีเขียวเป็นสีน้ำเงิน),สังกะสี,ซิน,บริสุทธิ์(คือทองแดงบริสุทธิ์).ห้าอย่างข้างต้นเรียกปัญจโลหะตั้งแต่เหล็กถึงสังกะสีเรียกสัตตโลหะ.
ปณ : ป. ของตั้งพนัน, เงินเดิมพัน; เงิน, ทรัพย์สมบัติ, ค่าจ้าง, บำเหน็จ, การค้าขาย
รูปิย : นป. แร่เงินแร่ทอง, เงิน, เงินตรา, เหรียญ
สลากา : (อิต.) ซี่, ซี่ไม้, ติ้ว, ตั๋ว, สลาก ฉลาก คือ สิ่งที่ทำไว้สำหรับจับเสี่ยงทายโดยมีเครื่องหมายกำกับ เป็นการทำบุญเป็นสังฆทาน. สลฺ คติยํ จลเน วา. อาโก, อิตฺถิยํ อา.
คุญฺชา : (อิต.) มะกล่ำ, มะกล่ำตาหนู. คุชฺ สทฺเท, อ, พินฺทวาคโม. คุญฺชา ชื่อมาตรา เงิน หนักเท่ากับเมล็ดมะกล่ำตาหนู. ๔ เมล็ดข้าวเปลือก เป็น ๑ คุญชา. จตฺตาโร วีหโย สมฺปิณฺฑิตา เอกา ว คุญฺชา.
ธน : (นปุ.) เงิน, ทรัพย์, สิน (เงิน ทรัพย์), สินทรัพย์. สมบัติ, ทรัพย์สมบัติ. อภิฯ วิ. มม อิทนฺติ ธนายิตพฺพํ สทฺทายิตพฺพนฺติ ธนํ. ธนฺ ธญฺเญ, สทฺเท วา, อ. เวสฯ ๔๘๗ วิ. ธนียติ อิจฺฉียตีติ ธนํ. ธนฺ อิจฺฉายํ, อ. ส. ธน, ทฺรวฺย.
รชต : (นปุ.) เงิน วิ. รญฺชนฺติ ชนา เอตฺถาติ รชตํ. รญฺชฺ ราเค, อโต. แปลง ต เป็น ฏ เป็น รชฏ บ้าง.
สชฺฌุ : นป. เงิน
หิรญฺญ : (นปุ.) เงินทอง, ทรัพย์, ทรัพย์สมบัติ. แปลว่า เงิน เป็นส่วนมาก. หรฺ หรเณ, โญ. แปลง ญ เป็น ญฺญ ลบที่สุดธาตุ และแปลง อ ที่ ห เป็น อิ. หา จาเค คติยํ วา, อญฺโญ. แปลง หา เป็น หิร วิ. ชหาติ สตฺตานํ หิตนฺติ หิรญฺญํ (ให้ประโยชน์แก่สัตว์). ส. หิรณฺย.
อินฺทุโลหก : นป. เงิน
กงฺกุฏฐก : นป. ดินสีทองสีเงิน
กส : (ปุ.) เครื่องเงิน, ภาชนะแห่งโลหะ, โลหะ ต่าง ๆ, จาน, สำริด, ทองสำริด, ทองสัมฤทธิ์ (เป็นทองผสมด้วยโลหะต่าง ๆ มี ทองแดงดีบุกเป็นต้น), ถ้วย, ถ้วยสำหรับ ดื่มสุรา. กนฺ ทิตฺติคติกนฺตีสุ, โส. แปลง นฺ เป็น นิคคหิต.
กหาปณ : (ปุ. นปุ.) กหาปณะ ชื่อมาตราเงิน ๒๐ มาสก เป็น ๑ กหาปณะ เป็นเงิน ไทยประมาณ ๔ บาท หรือ ๑ ตำลึง. วิ. กรีสปฺปมาเณน รูเปน กโต ปโณ ปณิโย ทพฺพเภโท กหาปโณ. แปลง รีส เป็น ห แล้วทีฆะ อภิฯ และเวสฯ ๕๖๗.
กุปฺป : (นปุ.) มูลแร่ (นอกจากทองคำและเงิน). คุปฺ รกฺนขเณ, อ, ทฺวิตฺติ.
ขีรมูล : นป. ค่าน้ำนม, เงินสำหรับซื้อน้ำนม
จีร, - รก : นป. เส้นใย, ใยไม้, เปลือกไม้, ผ้าเปลือกไม้; เส้น, ดิ้น (เงินหรือทอง)
ฉทฺทนฺต : (ปุ.) ฉัททันต์ ชื่อตระกูลช้างตระกูล ที่ ๑๐ ใน ๑๐ ตระกูล มีกายบริสุทธิ์ดังเงิน ยวง ปากและเท้าสีแดง. คัมภีร์ทางพม่า และฎีกาอภิฯ เป็น นปุ.
ฉพฺพณฺณรสิ : (อิต.) รัศมีมีสีหก. ฉัพพัณณรังษี. รัศมี ๖ ประการนี้ คือ เขียวเหมือนดอก – อัญชัน เรียกนีละ ๑ เหลืองเหมือน หอ – ระดาล เรียก ปีตะ ๑ แดงเหมือน ตะวัน อ่อน เรียก โลหิตะ ๑ ขาวเหมือนแผ่นเงิน เรียก โอทาตะ ๑ สีหงสบาทเหมือนดอก เซ่งหรือดอกหงอนไก่ เรียกมัญเชฏฐะ ๑ เลื่อมพรายเหมือนแก้วผนึก เรียก ปภัสสร รัศมีทั้ง ๖ นี้ แผ่เป็นวงกลมอยู่ เบื้องหลังพระเศียรของพระพุทธเจ้า. พระ พระอรหันต์ทั้งหลาย แม้พระอัครสาวก ก็ ไม่มีรัศมีทั้ง ๖ นี้.
ชาตรูปรชตปฏิคฺคหณ : (นปุ.) การรับทอง และเงิน.
ฏงฺกก : ป. เงินเหรียญ
ธนทญฺฑ : (ปุ.) การปรับไหม (ให้ผู้ทำผิดชำระเงินแทนการทำความผิดแก่ผู้เสียหาย). ส. ธนทณุฑ
ธนาคาร : (ปุ. นปุ.) เรือนแห่งเงิน,คลังแห่งเงิน,ธนาคารชื่อสถานที่ทำการค้าด้วยเงินคือรับฝากและให้กู้เงิน.ส.ธนาคาร
ธนาตฺติ : (อิต.) การบังคับในเพราะเงิน, การบังคับเกี่ยวกับเงิน, ธนาณัติ คือการส่งเงินทางไปรษณีย์ตราสารซึ่งไปรษณีย์แห่งหนึ่งส่งไปให้ไปรษณีย์อีกแห่งหนึ่งตามที่ผู้ส่งเงินต้องการให้ส่ง.
ธนี : (วิ.) มีทรัพย์, มีเงิน, มั่งคั่ง. วิ ธนํ อสฺส อตฺถีติ ธนี. อี ปัจ. ตทัสสัตถีคัท. ส. ธนินฺ.
นวคุณ : (ปุ.) ทองมีลำดับเก้า, ทองเนื้อเก้า, ทองนพคุณ, นพคุณ ชื่อทองบริสุทธิ์ โบราณกำหนดตามคุณภาพของเนื้อทอง หนัก ๑ บาท ราคา ๙ บาท (ค่าของเงิน สมัยก่อน) เรียกว่าทองนพคุณ.
นิกฺขิก : (ปุ.) พนักงานคลังเงินทอง, เจ้าหน้าที่ การเงิน, เหรัญญิก. วิ. นิกฺเข นิโยโค นิกฺขิโก.
ปณิตก : ค., นป. ซึ่งพนันกันแล้ว, ซึ่งวางเดิมพันแล้ว; ของพนัน, เงินเดิมพัน
โปสาวนิก : นป. ค่าเลี้ยงดู, เงินตอบแทนค่าเลี้ยงดู
มาสก : (ปุ.) มาสก ชื่อมาตรานับเงิน ๒ กุญชาเป็น ๑ มาสก ๕ มาสกเป็น ๑ บาท. มสฺ อามสเน, ณฺวุ.
มูตโตฬี : (อิต.) ไถ้ ชื่อถุงผ้ายาวๆ สำหรับใส่เงินหรือของต่างๆ.
รชปฏฺฏ : ป. แผ่นเงิน, ถาดเงิน
รูปิยมย : ค. สำเร็จแต่เงิน, ทำจากเงิน
สพฺโพหาร : (ปุ.) การซื้อขาย, การซื้อขายด้วยเงินทอง. สํ+วิ+โอ+หรฺ ธาตุ ณ ปัจ.
สุงฺก : (ปุ. นปุ.) ภาษี, อากร คือค่าธรรมเนียมที่รัฐบาลเรียกเก็บจากสิ่งที่เกิดจากธรรมชาติหรือสิ่งที่ทำขึ้นเพื่อการค้า, ส่วย คือของที่เรียกเก็บจากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวงตามวีเรียกเก็บภาษีอากรสมัยโบราณ หรือเงินช่วยเหลือราชการที่กำหนดเรียกเก็บจากราษฎร สมัยก่อนชายที่ไม่ได้เป็นทหารจะต้องเสียส่วยให้รัฐบาลปีละ ๖ บาท. วิ. สํกติ เยน ตํ สุงฺกํ. สํก คมเน, อ.
เสฏฺฐิ, - ฐี : ป. เศรษฐี, คนมีเงิน
เหมรชตฺ : (นปุ.) ทองและเงิน, ดวงตรา, เงินตรา.
เหรญฺญก : (ปุ.) บุคคลผู้เกี่ยวกับเงิน, พนักงานคลังเงินทอง, เหรัญญิก ชื่อคนผู้ดำรงตำแหน่งกรรมการของสมาคมหรือหน่วยงาน มีหน้าที่รับเก็บและจ่ายเงิน.
อพฺภูต : ป. ๑. ความอัศจรรย์ ;
๒. ของตั้งพนัน, เงินเดิมพัน
อรูปิย : ค. ไม่ใช่รูปิยะ, ไม่ใช่เงินทอง
อวิญฺญาณกธน : (นปุ.)ทรัพย์ไม่มีวิญญาณได้แก่เงินทองที่ดินเป็นต้น.
อายุตฺตก : (ปุ.) บุคคลผู้เรียกเก็บซึ่งส่วย, นายส่วย( ส่วยคือของที่เรียกเก็บจากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวงอีกอย่างหนึ่งคือ เงินที่เก็บจากชายซึ่งมิได้รับราชการเป็นทหารเงินรัชชูป-การก็เรียกปัจจุบันเลิกเก็บแล้ว ), เสมียน, เจ้าพนักงาน, เจ้าหน้าที่.อาปุพฺโพ, อุจฺสมวาเย, โต.แปลงจฺเป็นตฺ กสกัดคำแปลหลังอายุตฺตลงกสกัด.ส. อายุกฺตก.
อิณ : (นปุ.) เงินค้าง, การให้ยืม, หนี้. วิ. เอติ วุฑฺฒึ คจฺฉตีติ อิณํ. อิ คติยํ, ยุ, นสฺส ณตฺตํ. (แปลง น ซึ่งแปลงมาจาก ยุ เป็น ณ) อถวา, อิณุ คติยํ, อ. ส. ฤณ.
อิณปณฺณ : นป. ใบสัญญากู้เงิน
อุฏฏณฺฑ : นป. ทรัพย์สมบัติ, ข้าวของเงินทอง
อุทฺธาร : (ปุ.) การยกขึ้น, การเดาะ (เกี่ยวกับ กฐิน), การให้ยืม, เงินค้าง, หนี้. อุปุพฺโพ, ธรฺ คหเณ, โณ. หรฺ หรเณ วา, หสฺส โธ. ส. อุทฺธาร. อุทฺธุมายิ
อุปชูต : นป. การเล่นพนัน, เงินพนัน
ตีว : (วิ.) พี ( อ้วน) อ้วน, ใหญ่. ติปฺ ปีณเน, อ. แปลง ป เป็น ว ทีฆะต้นธาตุ.
ตุวิ : อิต. ฟัก, น้ำเต้า
สานฺตว : (วิ.) เกลี้ยกล่อม, ปลอบโยน, เล้าโลม.
ตาทิส ตาทิกฺข ตาริส ตาที : (วิ.) ผู้เช่นนั้น, ผู้คงที่. วิ. ต มิว นํ ปสฺสตีติ ตาทิโส (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นดังว่าบุคคลนั้น ). โ ส วิย ทิสฺสตีติ ตาทิโส ( เห็นราวกะว่าคนนั้น ). ต+ทิสฺ+กฺวิ ปัจ. แปลงที่สุดธาตุเป็น ส กฺข อี ทีฆะ อ ที่ ต เป็น อา ศัพท์ที่ ๓ แปลง ทฺ เป็น รฺ รูปฯ ๕๗๒ ส่วนโมคฯ สมาส กัณฑ์๘๘ ตั้ง ตุมฺห เป็นบทหน้า แปลว่า ผู้เช่นนบทหน้า ท่าน วิ. ตฺวมิว ทิสฺสตีติ ตาทิโส ตาทิกฺโข วา ตาริโส วา ตาที วา (เห็นราวกะว่าท่าน). แปลง ตฺวํ เป็น ตา.