กิตฺติน : (นปุ.) การระบุ, การบ่ง, การทัก. กิตฺต สํสนฺทเน, อิโน.
ชีวิตสีสี ชีวิตสทสีสี : (วิ.) ผู้มีกิเลสศรีษะสิ้น พร้อมด้วยชีวิต, ผู้มีกิเลสอันเป็นประธาน สิ้นไปพร้อมกับการสิ้นชีวิต, ผู้สิ้นกิเลส อันเป็นประธานพร้อมกับสิ้นชีวิต. กิเลส ที่เป็นประธานคืออวิชา. คำว่าสิ้นกิเลส พร้อมกับสิ้นชีวิตนั้นมิได้หมายความว่า เกิดพร้อมกันในวิถีจิตเดียวกัน อรหัตต – มัคคจิตเกิดประหาณ อวิชชาแล้ว ชีวิติน- ทรีย์ เจตสิกละรูปจึงดับ แม้ว่าจะห่างกัน หลายวิถีจิตก็จริง แต่เมื่อว่าโดยเวลาแล้ว ความดับกิเลสและสิ้นชีวิตก็กล่าวได้ว่าดับ ลงพร้อมกัน เพราะวิถีจิตเป็นไปเร็วมาก.
ตาวตึส : (ปุ.) ดาวดึงส์ ชื่อสวรรค์ชั้นที่ ๒ ใน ๖ ชั้น, พิภพดาวดึงส์, ตรัยตรึงส์, ตรึงส์-ตรัย. วิ. เตตฺตึส ชนา นิพฺพตตนฺติ เอตฺถาติเตตฺตึโส. เตตฺตึโส เอว นิรุตฺตินเยน ตา วตึโส. แปลง เอ เป็น อย ทีฆะ อ ที่ ต เป็นอา แปลง ย เป็น ว หรือ แปลง เต เป็น ตาวลบ ตฺ สังโยค. ตาว ปฐม ตึสติ ปาตุภวตีติตาวตึโส. พื้นแผ่นดินใด เกิดปรากฏขึ้นในโลกเป็นครั้งแรกก่อน ( พื้นแผ่นดินอื่นๆ )พื้นแผ่นดินนั้น ชื่อดาวดึงส์.
นข : (ปุ. นปุ.) เล็บ(ทั้งเล็บมือเล็บเท้า),เดือยไก่,วิ.นตฺถิขํอินฺทฺริยํเอตฺถาตินโข(ไม่มีความรู้สึก).ส.นข.
อลาต : (นปุ.) ฟืน, ลูกไฟ, ถ่านไฟ, ดุ้นไฟ.วิ.หานิเมวลาตินฐิติวิเสสญฺจาติอลาตํ.นปุพฺโพ, ลาอาทาเน, โต.อลตีติวาอลาตํ.อลฺพนฺธเน, อ, โต.ส.อลาต.
อายุ : (ปุ. นปุ.) ธรรมชาติเป็นเครื่องเจริญแห่งสัมปยุตธรรม, ความเป็นไป, ชีวิต, ชิวิติน-ทรีย์, ชนมพรรษา, ชันษา, อายุ(เวลาที่ดำรงชีวิตอยู่เวลาชั่วชีวิตของสิ่งนั้นๆ).วิ.เอนฺติสตฺตาเอเตนาติอายุ.อิคติยํ, ณุ.อถวา, อาปุพฺโพ, ยุมิสฺสนคตีสุ, อ. รูปฯ๖๓๕.ส. อายุษฺอายุสฺ.
ตนุ : (อิต.) กาย, ร่างกาย, ตน, หนัง. วิ.ตโนติ สํสารทุกฺขนฺติ ตนุ. ตนุ วิตถาเร, อุ. รูปฯ ๖๓๕ ลง ณุ ปัจ. ไม่ทีฆะ. ไทยใช้ ดนุ เป็นสัพพนามแทนผู้พูด. ฉันข้าพเจ้าฯลฯ.
ตนยา : (อิต.) ลูกหญิง, ลูกสาว.
จิรนฺตน : (วิ.) ชั่วก่อน (ระยะก่อน), ชั่วเพรง (เพรง คือ ก่อนเก่า), ก่อน, มีในก่อน. วิ. จิรํ ภโว จิรนฺตโน. จิรํ+ตน ปัจ. แปลง นิคคหิตเป็น น. ฎีกาอภิฯ ว่า ลบนิคคหิต ถ้าถือตามมติฎีกาฯ ก็ต้องลง นฺ สังโยค หรือ นฺ อาคมหน้าปัจ.
ปุราตน :
(วิ.) เก่า, ก่อน, ฯลฯ. วิ. ปุรา ภโว ปุราตโน. ตน ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๒๒. ดู ปุราณ(วิ.)
สฺวาตน : (อัพ. นิบาต) มีในวันพรุ่ง วิ. เ สฺว ภวํ สฺวาตนํ. เ สฺว+ตน ปัจ. แปลง เอ เป็น อา รูปฯ ๔๐๗.
หิยฺยตฺตน : (วิ.) เป็นในวันวาย, มีในวันวาน. วิ. หิยฺโย ภโว หิยฺยตฺตโน. ที่เป็นวิเสสนะ ของ อิต. เป็น หิยฺยตฺตนี. หิยฺย+ตน ปัจ.
เกตน : (นปุ.) การกำหนด, การหมาย, ธง, บ้าน, เรือน, ที่อาศัย. กิตฺ ญาณนิวาเสสุ,ยุ.ส.เกตน.
เขตต : (นปุ.) ภริยา, สรีระ, ตน, แดน, แคว้น, นา, ไร่, ไร่นา, ที่, ที่ดิน, ทุ่ง, ทุ่งนา, เขต. วิ. พีชานิ ขิปิยนฺตีติ เขตฺตํ. พีชานิ ขิปนฺตฺ- ยสฺมินฺติ วา เขตฺตํ. ขิปฺ เปรเณ, โต, ปการสฺส ตตฺตํ. ขิตฺตํ พิชํ มหปฺผลภาวกร- เณน ตายตีติ วา เขตฺตํ. ขิตฺตปุพฺโพ, ตา ปาลเน, โต, อิสฺเส, ตการทฺวยโลโป (ลบ ตฺต แห่ง ขิตฺต) ที่แปล เขตฺต ว่า ภริยานั้น เพราะเป็นที่งอกงามของพืช คือ บุตร. ส. กฺษตร.
ธมฺมจกฺกปฺปวตฺตนสุตฺต : (นปุ.) ธรรมจัก- กัปปวัตตนสูตร ชื่อพระสูตรซึ่งพระพุทธ- เจ้าทรงแสดงครั้งแรกแก่พระเบญจวรรคีย์ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ปฐมเทศนา.
นฏน นฏฺฏ นตฺตน : (นปุ.) การฟ้อน, การรำ, การฟ้อนรำ, การเต้น, การเต้นรำ. ศัพท์ที่ ๑, ๒ นฎ นตฺยํ. ศะพท์ตัน ยุ ปัจ. ศัพท์ที่ ๒ อ ปัจ. และแปลง ฏ เป็น ฏฺฏ ศัพท์ที่ ๓ นตฺ คตฺตวิมาเน. ลง ย ปัจ. ประจำธาตุ และ ยุ ปัจ. นามกิตก์ แปลง ตฺย เป็น จฺจ ยุ เป็น อน. ส. นรฺตน, นฤดี.
นิวตฺตน : (นปุ.) การหลับ, การหันกลับ, การหมุนกลับ. นิปุพฺโพ, วตฺต วตฺตเน, ยุ. ส. นิวรฺตฺตน.
ปตฺตาธารก : นป. เชิงรองบาตร, ตีน, หรือฝาบาตร
สรีร : (นปุ.) ร่าง (ตัว), กาย, ร่างกาย, ตัว, ตน, ตัวตน, สรีระ, วิ. สรตีติ สรีรํ. สรฺ คติยํ, อีโร. สรนฺติ วาตํ หึสนฺตีติ วา สรีรํ. สรฺ หึสายํ. อภิฯและฎีกาฯ ลงอีรปัจ. รูปฯ ลง อิร ปัจ. ทีฆะ.
อตฺต อตฺร : (ปุ.) กาย, ร่างกาย, ตน, ตู(ตัว), ตัว, ตัวเอง, ตัวตน (ร่างกายและใจ). วิ. ทุกฺขํ อตติสตตํ คจฺฉตีติ อตฺตา (ถึงทุกข์เสมอ).อาหิโตอหํมาโน เอตฺถาติวา อตฺตา (เป็นที่ตั้งของมานะ).สุขทุกฺขํ อทติ ภกฺขติ อนุภาวตีติวาอตฺตา(เสวยสุขทุกข์).ชาติชรามรณาทีหิอาทียเต ภกฺขียเตติวา อตฺตา (อันชาติชราและมรณะเป็นต้น เคี้ยวกิน).ภววภวํธาวนฺโตชาติชรามรณาทิเภทํ อเนกวิหิตํสํสารทุกขํอตติสตตํคจฺฉติปาปุณาติอธิคจฺฉตีติวาอตฺตา.อตฺหรืออทฺธาตุตปัจ.ถ้าตั้งอทฺ ธาตุ แปลงทเป็น ต หรือ แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ทฺศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ตฺรลบที่สุดธาตุอตฺตศัพท์นี้ตามหลักบาลีไวยากรณ์เป็นเอก.อย่างเดียว ถ้าจะใช้เป็นพหุ. ต้องแปลซั้าสองหน หรือเขียนควบสองหนเช่น อตฺตโนอตฺตโนแต่คัมภีร์รูปสิทธิเป็นต้น แจกเป็นพหุ. ได้.แปลว่า จิตใจ สภาวะ และ กุสลธัมได้อีกอุ. อตฺตา หิกิรทุทฺทโมได้ยินว่าจิตแล(ใจแล) เป็นสภาพรักษาได้ยาก.แปลว่า หัวใจ อุ.ตถตฺตมีหัวใจเป็นอย่างนั้นมีพระทัยเป็นอย่างนั้น. แปลว่าปรมัตตะ หรือปรมาตมันตามที่ชาวอินเดียโบราณถือว่าเป็นสิ่งไม่ตาย รูปฯ๖๓๖ ลง มนฺ ปัจ. ลบ น.แปลง ม เป็น ต สูตรที่ ๖๕๖ ลง ต ตฺรณฺ ปัจ.ที่ลง ตฺรณฺปัจ.ลบที่สุดธาตุ แล้วลบณฺสฺอาตฺมนฺอาตฺมา.
อนิวตฺตอนิวตฺตน : (วิ.) ไม่กลับ, ไม่หมุนกลับ, ไม่ท้อถอย.ส.อนิวรฺตอนิวรฺตน.
อนิวตฺต อนิวตฺตน : (วิ.) ไม่กลับ, ไม่หมุนกลับ, ไม่ท้อถอย. ส.อนิวรฺต อนิวรฺตน.
อนุวตฺตอนุวตฺตน : (นปุ.) ความคล้อยตาม, ความผ่อนตาม, ความเป็นไปตาม, ความเป็นไปสมควร, ความสมควร.ส.อนุวรฺตน.
อนุวตฺต อนุวตฺตน : (นปุ.) ความคล้อยตาม, ความผ่อนตาม, ความเป็นไปตาม, ความเป็นไปสมควร, ความสมควร. ส.อนุวรฺตน.
อากาสานญฺจายตนภูมิ : (อิต.) อากาสานัญจาย-ตนภูมิชื่อภูมิของอรูปพรหมที่๑.
อากิญฺจญฺญายตนภูมิ : (อิต.) อากิญจัญญยตนภูมิชื่อภูมิของอรูปพรหมชั้นที่ ๓
กนฺตน : (นปุ.) การตัด, การฆ่า, การแควะ, การควัก, การเชือด. กติ เฉทเน, ยุ.
กปิตน : ป. มะสัง, ต้นหมาก
กปิตน กปีตน : (ปุ.) มะสัง ชื่อต้นไม้ ต้นมี หนาม ใบคล้ายใบมะขวิด.
กมฺมายตน : (นปุ.) หน้าที่การงาน.
กายายตน : นป. สิ่งที่เป็นสื่อรับความรู้สึกจากภายนอกมาสู่กาย, สื่อทางกาย
กิตฺตน : (นปุ.) การกำหนด, การสนทนา, การทัก อุ. นิมิตฺตกิตฺตนํ การทักนิมิต.
คนฺธายตน : ป. อายตนะคือกลิ่น
คพฺภปาตน : นป. การตกไปแห่งครรภ์, การแท้งลูก
คุณกิตฺตน : นป. การพรรณนาคุณความดี
โควิกตฺตน : นป. มีดหั่นเนื้อ
ฆานายตน : นป. ฆานายตนะ, ฆานประสาท, สื่อกลางที่จมูกรับรู้กลิ่น
จกฺกรตน : นป. จักรรัตน, รัตนคือจักร, จักรแก้ว (ของพระเจ้าจักรพรรดิ)
จกฺขายตน จกฺขฺวายตน : (นปุ.) อายตนะ คือตา วิ. จกฺขุ เอว อายตนํ จกฺขายตนํ จกฺขฺวายตนํ วา. จกฺขุ+อายตน ศัพท์ต้นลบ อุ ศัพท์หลัง แปลง อุ เป็น ว.
จินฺต จินฺตน : (นปุ.) จินฺตนา
จินฺตน : นป. จินฺตนา อิต. การคิด, การดำริ, ความนึกคิด, ความดำริ
ฉลายตน ฉฬายตน : (นปุ.) อายตนะหก. ฉ+ อายตน ลฺ อาคม ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ.
ฉฬายตน : นป. อายตนะหก
ชายตฺตน : นป. ความเป็นเมีย, ความเป็นภริยา
ชารตฺตน : นป. ความเป็นชู้, ความมีชู้, ความคบชู้
ชิวฺหายตน : (นปุ.) อายนะคือลิ้น, ชิวหาประ สาท (หมายเอาประสาทรับรู้รส).
ตนุ ตนุก : (วิ.) ละมุนละม่อม, ละเอียด, ห่าง, น้อย, เล็ก, ผอม, เบา, บาง, บางเบา. ตนุ ตนุกรเณ, อุ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
ติตฺถายตน : (นปุ.) ลัทธิแห่งเดียรถีย์.
เตน : (อัพ. นิบาต) เพราะ, ด้วยเหตุนั้น, เพราะเหตุนั้น. การณตฺเถ นิปาโต.
ทูรกนฺตน : นป. การกำจัดให้ไปในที่ไกล, การถูกขับไล่ให้ได้รับความอดสู, การทรยศต่อประเทศชาติ